ลำดับความเป็นมาของรัฐบาลยิ่งลักษณ์
3 กรกฎาคม 2554 เลือกตั้ง ส.ส. ทั้งประเทศ
5 สิงหาคม 2554 มติสภาผู้แทนราษฎรเลือกยิ่งลักษณ์เป็นนายก
9 สิงหาคม 2554 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่
23 สิงหาคม 2554 ยิ่งลักษณ์แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เพื่อให้สามารถทำงานในตำแหน่งนายกได้เต็มที่ตามรัฐธรรมนูญ 50
---------------------------------------------------------------
เกาะติดสถานการณ์อุทกภัย จากข่าวกรมประชาสัมพันธ์
น้ำในแม่น้ำมูลสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประชาชนกว่าร้อยครัวเรือนต้องอพยพมาอยู่บริเวณริมถนนเชิงสะพานเสรีประชาธิปไตย (19 ก.ย. 2554)
ผวจ.ตราด ย้ำประชาชนและเกษตรกรที่ประสบปัญหาน้ำท่วม จะได้รับการช่วยเหลืออย่างเต็มที่และทั่วถึง (19 ก.ย. 2554)
กระแสน้ำจากแม่น้ำชียังคงไหลท่วมในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ (19 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรี มั่นใจรับสถานการณ์อุทกภัยได้ สั่งการระดมกำลังเสริมแนวกั้นน้ำ (19 ก.ย. 2554)
ศอส.รายงานยังมี 26 จังหวัดประสบอุทกภัย ย้ำ 8 จังหวัดริมเจ้าพระยาเตรียมรับน้ำล้นตลิ่งที่เพิ่มสูงขึ้น (18 ก.ย. 2554)
รัฐบาลเชิญชวนบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (18 ก.ย. 2554)
รมช.มท. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมผู้ประสบอุทกภัย จ.อุทัยธานีและสระบุรี (16 ก.ย. 2554)
น้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยา เริ่มไหลเข้าท่วมเขตเทศบาลเมืองชัยนาทแล้ว (16 ก.ย. 2554)
จ.ปทุมธานีเร่งสร้างคันกั้นน้ำ เพื่อเตรียมรับมือกับระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา (16 ก.ย. 2554)
กระทรวงพาณิชย์ เตรียมข้าวถุงธงฟ้ากว่า 60,000 ตัน ช่วยเหลือผู้ประสบภัย พร้อมจับตาเกษตรกรฉวยโอกาสขึ้นราคาสินค้ายามขาดตลาด (16 ก.ย. 2554)
บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด(มหาชน) ปล่อยขบวนคาราวานถุงยังชีพและช่างอาสาช่วยเหลือผู้ประสบภัย จ.ระยอง (15 ก.ย. 2554)
ผู้แทนพระองค์สมเด็จพระเทพฯ มอบสิ่งของพระราชทานช่วยน้ำท่วม จ.อยุธยาฯ (15 ก.ย. 2554)
จังหวัดตากประชุมเร่งให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (15 ก.ย. 2554)
"ชูวิทย์" เรียกร้องนายกรัฐมนตรี ยุติการเดินทางไปต่างประเทศ โดยควรให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาอุทกภัยเป้นวาระเร่งด่วน (15 ก.ย. 2554)
รัฐบาล ขอบคุณประชาชน และทุกภาคส่วน ที่ร่วมกันบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในงาน "รวมพลังไทย ช่วยภัยน้ำท่วม" (15 ก.ย. 2554)
รัฐบาลเชิญชวนบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (15 ก.ย. 2554)
ศอส. รายงานมี 30 จังหวัดประสบอุทกภัย เตือน 8 จังหวัดริมฝั่งเจ้าพระยา รับมือน้ำล้นตลิ่งที่เพิ่มสูงขึ้น ในช่วงวันที่ 18 – 20 ก.ย. 54 (15 ก.ย. 2554)
สถานการณ์น้ำน่านที่พิษณุโลกวิกฤตระดับน้ำสูง 10.78 เมตร ขณะที่เทศบาลนครพิษณุโลกเร่งเสริมกระสอบทรายอีก 10 ซม. (15 ก.ย. 2554)
ไปรษณีย์ร่วมช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม เปิดจุดรับบริจาคเงินทุกที่ทำการไปรษณีย์ทั่วประเทศกว่า 2,000 แห่ง (15 ก.ย. 2554)
รัฐบาลมอบเงินเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยอำเภอบางระกำกว่า 1,000 ราย เป็นเงิน กว่า 48 ล้านบาท (15 ก.ย. 2554)
จ.สุราษฎร์ธานีฝนหยุดตก ระดับน้ำท่วมขังในพื้นที่ราบลุ่มริมคลองอีปัน อ.พระแสง ลดลงสู่ภาวะปกติ (15 ก.ย. 2554)
แม่น้ำตรังล้นตลิ่ง เข้าท่วม 5 หมู่บ้าน กว่า 250 หลังคาเรือน (15 ก.ย. 2554)
รัฐบาล จัดตั้งคณะกรรมการ 5 กระทรวงบริหารจัดการน้ำใน 25 ลุ่มน้ำทั่วประเทศใหม่ พร้อมหาแนวทางเร่งผลักดันน้ำลงทะเลภายใน 15 วัน (15 ก.ย. 2554)
ธ.กรุงไทย ขยายเวลา 7 มาตรการช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบอุทกภัยไปจนถึงสิ้นปีนี้ (15 ก.ย. 2554)
สรุปสถานการณ์การอุทกภัยของจังหวัดนครปฐมในวันที่ 14 กันยายน 2554 ยังมีประชาชนได้รับผลกระทบเพิ่มขึ้นเรื่อย (15 ก.ย. 2554)
10 จังหวัดภาคกลางระวังน้ำท่วมฉับพลัน (15 ก.ย. 2554)
สุโขทัย น้ำล้นทางระบายน้ำ 2 แห่ง (15 ก.ย. 2554)
ดินโคลนถล่มอุตรดิตถ์เสียหายกว่า 263 ล้านบาท (15 ก.ย. 2554)
อำเภอคลองขลุง รับผลกระทบจากน้ำป่า และน้ำปิงที่เอ่อล้นท่วมถนนสายทางสายกำแพงเพชร-ท่ามะเขือ รถเล็กผ่านไม่ได้ (15 ก.ย. 2554)
อบจ.เร่งบรรจุข้าวสารอาหารแห้งใส่ถุง 2 หมื่นชุด พรุ่งนี้เตรียมแจกให้ผู้ประสบภัยน้ำท่วม หลังน้ำป่าหลากท่วม 6 อำเภอ ได้รับความเดือดร้อนขาดอาหารน้ำดื่มมา 3 วันแล้ว (15 ก.ย. 2554)
นายกฯ เปิดงานรวมพลังไทยช่วยภัยน้ำท่วม (15 ก.ย. 2554)
ธ.กรุงไทย ขยายเวลา 7 มาตรการช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบอุทกภัยไปจนถึงสิ้นปีนี้ (15 ก.ย. 2554)
พบผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ดินโคลนถล่มที่ จ.อุตรดิตถ์ ทั้ง 7 รายแล้ว (15 ก.ย. 2554)
ผู้ว่าฯ กำแพงเพชร ลงพื้นที่ตรวจติดตามสถานการณ์น้ำท่วม (15 ก.ย. 2554)
ผู้ว่าฯ อุตรดิตถ์ ระดมกำลังจากหลายหน่วยจัดชุดตรวจค้นเร่งค้นหาผู้สูญหายจากเหตุการณ์ดินถล่ม อีก 2 ราย (15 ก.ย. 2554)
หัวหน้าอุทยานแห่งชาติคลองลาน จ.กำแพงเพชร และอุทยานแห่งชาติแม่วงศ์ ประกาศปิดห้ามนักท่องเที่ยวเข้าไปอย่างเด็ดขาด (15 ก.ย. 2554)
รองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 นำคณะสื่อมวลชน ขึ้นฮอ ตรวจดูสภาพน้ำท่วมในพื้นที่ จ.เลย (15 ก.ย. 2554)
ผู้ว่าฯชัยนาทเตรียมพื้นที่อพยพราษฎร หากน้ำล้นคันกั้นถนนสายชัยนาท-สิงห์บุรีและคันคลอมหาราช (15 ก.ย. 2554)
รัฐบาลมอบเงินเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยอำเภอบางระกำกว่า 1,000 ราย เป็นเงิน กว่า 48 ล้านบาท (15 ก.ย. 2554)
ชาวบ้านเกาะเกร็ด ห่วงธุรกิจท่องเที่ยวจากสถานการณ์น้ำเอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่ (15 ก.ย. 2554)
รัฐบาล จัดตั้งคณะกรรมการ 5 กระทรวงบริหารจัดการน้ำใน 25 ลุ่มน้ำทั่วประเทศใหม่ (15 ก.ย. 2554)
ขอนแก่นประกาศพื้นที่ประสบภัย ๑๕ อำเภอ (14 ก.ย. 2554)
ส.ส.กทม. พรรคเพื่อไทย ขอให้กรุงเทพมหานครหามาตรการป้องกันและรับมือน้ำท่วม (14 ก.ย. 2554)
กรมชลประทานคาดการณ์ ปริมาณน้ำจะไหลเข้าสู่กรุงเทพมหานครในต้นสัปดาห์หน้า (14 ก.ย. 2554)
อธิบดีกรมชลประทาน ห่วงคันกั้นน้ำเสี่ยงเสียหายจากการแช่น้ำปริมาณมากเป็นเวลานาน ฝากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยดูแล (14 ก.ย. 2554)
น้ำในแม่น้ำป่าสักทะลักเข้าท่วมเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ (14 ก.ย. 2554)
สำนักชลประทานที่ 12 แจ้งระดับน้ำท้ายเขื่อนเจ้าพระยา มีแนวโน้มสูงขึ้นอีก ประชาชนริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เตรียมรับมือระดับน้ำที่จะสูงขึ้นอีกประมาณ 1 เมตร (14 ก.ย. 2554)
ย้ำเตือนผู้ประสบอุทกภัย ล้างและเช็ดเท้าให้สะอาด ป้องกันโรคน้ำกัดเท้าหากจำเป็นควรทำถุงป้องกันเท้า (14 ก.ย. 2554)
กลุ่ม ปตท. รวมใจช่วยภัยน้ำท่วมรวม 30 ล้านบาท (14 ก.ย. 2554)
สถานการณ์การอุทกภัยของจังหวัดนครปฐมยังคงต้องเฝ้าระวัง (14 ก.ย. 2554)
การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยน้ำท่วมและดินโคลนถล่มในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน (14 ก.ย. 2554)
กองทัพอากาศ โดย รร.การบิน ตั้งศูนย์บรรเทาสาธารณภัยโรงเรียนการบินและสนับสนุนกำลังพลช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (14 ก.ย. 2554)
สถานการณ์การอุทกภัยของจังหวัดนครปฐมในวันที่ 13 กันยายน 2554 (14 ก.ย. 2554)
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ เสด็จเยี่ยมราษฎรที่จังหวัดชัยนาท (14 ก.ย. 2554)
น้ำท่วมในจังหวัดชัยนาทเพิ่มสูงขึ้น ถนนในบางหมู่บ้านไม่สามารถสัญจรไปมาได้ (14 ก.ย. 2554)
ธนาคารไทยพาณิชย์ เชิญชวนรวมน้ำใจช่วยเหลือผู้ประสบภัยทั่วประเทศ (14 ก.ย. 2554)
ระวังฝนตกหนักในระยะนี้ ปลายเดือนนี้จะภาคเหนือจะได้รับผลกระทบจากพายุหมุนเขตร้อนอีก 1 ลูก (14 ก.ย. 2554)
จ.ตราดมอบถุงยังชีพช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจากน้ำท่วมใน ต.สะตอ กว่า 1,000 ชุด (14 ก.ย. 2554)
สถานการณ์น้ำท่วมหมู่บ้านชุมชน และพื้นที่ทำการเกษตรในพื้นที่อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น (14 ก.ย. 2554)
โฆษกรัฐบาลเผยนายกรัฐมนตรีมอบหมายรัฐมนตรีดูแลพื้นที่ประสบปัญหาอุทกภัยรายจังหวัด (14 ก.ย. 2554)
เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี จัดเจ้าหน้าที่เข้าเวรตรวจสอบระดับน้ำ และเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำตลอด 24 ชั่วโมง (13 ก.ย. 2554)
จังหวัดสุพรรณบุรี เร่งฟื้นฟู “ตลาดเก้าห้อง” (13 ก.ย. 2554)
น้ำท่วมที่จังหวัดจันทบุรีน้ำเริ่มทรงตัว ทางจังหวัดติดตั้งเครื่องสูบน้ำเพิ่มเติมเร่งระบายน้ำเขตจันทนิมิต (13 ก.ย. 2554)
ปภ.ชลบุรี.เตือนประชาชนในช่วงน้ำท่วมระวังจมน้ำ ไฟฟ้าดูดและไฟฟ้าช็อต (13 ก.ย. 2554)
ดินถล่มที่จังหวัดระนอง ปิดทับถนนหมายเลข 4006 (13 ก.ย. 2554)
สธ. ระดมจิตแพทย์ นักจิตวิทยาลงพื้นที่ อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ์ (13 ก.ย. 2554)
ความคืบหน้าเหตุอาคารพาณิชย์ด้านหลังโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ จังหวัดสระบุรีทรุดตัวหลังจากเจ้าหน้าที่กู้ภัยจังหวัดสระบุรี (13 ก.ย. 2554)
ชลประทานตรัง สรุปสถานการณ์เฝ้าระวังน้ำท่วมในจังหวัดตรัง (13 ก.ย. 2554)
สส.ตราดลงพื้นที่ ต.สะตอ ติดตามสถานการณ์น้ำท่วม (13 ก.ย. 2554)
พ่อเมืองระยอง แจ้งเตือนประชาชนขนย้ายข้าวของไปเก็บไว้ในที่สูง หลังน้ำที่ไหลเข้าท่วมในพื้นที่ ต.หนองละลอก (13 ก.ย. 2554)
ฝนตกหนักทำให้เกิดน้ำท่วมในพื้นที่อำเภอคลองลานจังหวัดกำแพงเพชร (13 ก.ย. 2554)
สถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่ภาคอีสานและภาคเหนือยังคงน่าเป็นห่วง (13 ก.ย. 2554)
จ.สุโขทัย สรุปสถานการณ์น้ำท่วมมีพื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายกว่า 330,000 ไร่ (12 ก.ย. 2554)
ตลอดทั้งคืนที่ผ่านมา มีลมกระโชกแรงและฝนตกอย่างหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำท่วมขังใน จ.ชลบุรี หลายจุด (12 ก.ย. 2554)
เกิดเหตุดินสไลด์ทับอาคารพาณิชย์หลังโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ จังหวัดสระบุรี (12 ก.ย. 2554)
ระดับน้ำแม่น้ำจันทบุรีเริ่มเอ่อล้นตลิ่ง เขตเศรษฐกิจน้ำเริ่มสูงขึ้น โรงเรียนในเขตอำเภอเมืองสั่งปิด 3 วัน (12 ก.ย. 2554)
แผนที่แสดงพื้นที่ประเทศไทยที่ประสบปัญหาอุทกภัย (12 ก.ย. 2554)
ฝนกระหน่ำข้ามคืน น้ำท่วมพัทยา (12 ก.ย. 2554)
รัฐบาลเชิญชวนบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (12 ก.ย. 2554)
ชลบุรีฝนตกหนักทำให้ถนนถูกตัดขาด (12 ก.ย. 2554)
รองประธานมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ) ยามยากนำสิ่งของพระราชทาน 800 ชุดช่วยเหลือชาวตลุกและหาดอาษา (12 ก.ย. 2554)
ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมอบถุงยังชีพให้ราษฎรผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ (12 ก.ย. 2554)
น้ำป่าจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ไหลเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรและพื้นที่การเกษตรเสียหายหนัก (12 ก.ย. 2554)
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ เตือน 5 จังหวัด เฝ้าระวังดินโคลนถล่ม (12 ก.ย. 2554)
พบผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ดินโคลนถล่มที่ จ.อุตรดิตถ์ เพิ่มอีก 1 ราย ทำให้จนถึงขณะนี้มีผู้เสียชีวิตแล้ว 4 ราย (12 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรีห่วงประชาชนอ.น้ำปาดสั่งเร่งทำสะพานเข้าช่วยคนที่ติดอยู่ในพื้นที่ (12 ก.ย. 2554)
การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยน้ำท่วมและดินโคลนถล่มในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน (11 ก.ย. 2554)
สรุปสถานการณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภัย ของจังหวัดนครปฐม ประจำวันที่ 9 กันยายน 2554 (11 ก.ย. 2554)
โรงเรียนการบินกำแพงแสนให้ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยที่หมู่ ๕ ต.บางไทรป่า อ.บางเลน จ.นครปฐม (11 ก.ย. 2554)
ปภ.แจงหลักเกณฑ์การรับเงินช่วยเหลือน้ำท่วม 5000 บาท (11 ก.ย. 2554)
นครปฐมเปิดศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยประจำชุมชน (11 ก.ย. 2554)
จังหวัดนครปฐมแจ้งเตือนประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำให้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัย (11 ก.ย. 2554)
บรรหารนำทีมจ่ายถุงยังชีพช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วมที่ชุมแสง จาก ธนภัทร (11 ก.ย. 2554)
ซับน้ำท่วมพืชผลทางด้านการเกษตรอัตราใหม่มากกว่าเก่าหลายเท่าตัว (11 ก.ย. 2554)
เกษตรเมืองเร่งช่วยเหลือผู้เสียหายจากนกเตน (11 ก.ย. 2554)
“วิทยา” ส่งหน่วยแพทย์ 3 ทีมปักหลัก 24 ชั่วโมง บริการชาวบ้านอ.น้ำปาด อุตรดิตถ์ (11 ก.ย. 2554)
โฆษกรัฐบาลยืนยันผู้ประสบอุทกภัยจะได้เงินช่วยเหลือครัวเรือนละ 5,000 บาท โดยไม่มีการหักค่าใช้จ่ายใดๆ (11 ก.ย. 2554)
โฆษกรัฐบาลย้ำนายกรัฐมนตรีสั่งการให้ทุกหน่วยงานเร่งช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยพิบัติอย่างเต็มความสามารถ (11 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรี ระบุ มีผู้สูญหาย 4 คน เสียชีวิต 3 คนจากเหตุน้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถล่มที่จังหวัดอุตรดิตถ์ กำชับหน่วยงานเร่งให้การช่วยเหลือแล้ว (11 ก.ย. 2554)
รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตรวจน้ำท่วมพร้อมมอบถุงยังชีพให้ผู้ประสบภัยที่จังหวัดครสวรรค์ ชัยนาทและอ่างทอง (10 ก.ย. 2554)
ชี้คนหายเหตุโคลนถล่มอุตรดิตถ์ ถึง 7 ราย ตาย 1-เหยื่อบางรายสูญทั้งญาติ-ทรัพย์สิน (9 ก.ย. 2554)
อธิบดี ปภ. ขอให้ผู้ประสบอุทกภัยที่เข้าข่ายรับเงิน 5,000 บาท จัดเตรียมเอกสารหลักฐานให้พร้อม (8 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรีรับมอบปลากระป๋อง 2 แสนกระป๋องช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม (8 ก.ย. 2554)
พิษณุโลกพบน้ำตกใหม่สวยงามมากบนอช.ภูหินร่องกล้า (8 ก.ย. 2554)
สภาพแม่น้ำวังทองล้นท่วมโรงเรียนวังพิกุลขนย้ายของอลม่าน (8 ก.ย. 2554)
แม่น้ำวังทองท่วม ร.ร.วังพิกุล เร่งขนอุปกรณ์การเรียนหนี (8 ก.ย. 2554)
ปภ.รายงาน 8 จังหวัดยังเผชิญน้ำท่วม เดือดร้อนกว่าแสนครัวเรือน (8 ก.ย. 2554)
ขนส่งจังหวัดกำแพงเพชร แจ้งเตือนผู้ขับรถรับ-ส่งนักเรียน ให้เพิ่มความระมัดระวังในการขับรถในช่วงฤดูฝน (8 ก.ย. 2554)
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทานเรือ จำนวน 3 ลำให้แก่ราษฎรที่ถูกน้ำท่วมใน อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก (8 ก.ย. 2554)
รัฐบาล เชิญชวนประชาชนร่วมบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย เข้ากองทุนเงินช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย สำนักนายกรัฐมนตรี (8 ก.ย. 2554)
จังหวัดอุบลราชธานี มีพื้นที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม ใน 7 อำเภอ (8 ก.ย. 2554)
พิษณุโลกน้ำน่านสูงทำปลาในกระชังตายเกลี้ยง (8 ก.ย. 2554)
ฝนตกหนัก อ่างเก็บน้ำแม่ออนน้ำล้นสปริลล์เวย์ น้ำท่วมที่บ้านน้อย อำเภอสันกำแพงเป็นครั้งที่ 5 ในรอบปี (8 ก.ย. 2554)
น้ำป่ากัดเซาะทางหลวงหมายเลข 405 บ้านโท้งหลวง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (8 ก.ย. 2554)
คณะกรรมการลุ่มน้ำยม หาแนวทางแก้ไขปัญหาน้ำท่วม-น้ำแล้ง (8 ก.ย. 2554)
จังหวัดนครปฐมแจ้งเตือนประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำให้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัย (8 ก.ย. 2554)
ศอส.เตือนอีสาน ตะวันออก และบางส่วนของภาคตะวันตก รับมือภาวะฝนตกในระยะนี้ (8 ก.ย. 2554)
รมว.ทส. ประชุม ผวจ. 10 จังหวัด ป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพฯ (8 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรีรับมอบเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมจากคณะผู้แทนหอการค้าไทย – จีน จำนวน 3 ล้านบาท (8 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรีเร่งรัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทำงานแบบบูรณาการในการจ่ายเงินเยียวยาเพื่อชดเชยความเสียหายให้พี่น้องประชาชนที่ประสบอุทกภัยโดยเร็ว (8 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรีตรวจเยี่ยมสถานการณ์น้ำท่วมพร้อมมอบสิ่งของให้กับประชาชนในจังหวัดชัยนาท อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา (8 ก.ย. 2554)
โฆษกรัฐบาลย้ำครม. อนุมัติงบกลางช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยครัวเรือนละ 5,000 บาทใน 44 จังหวัด (8 ก.ย. 2554)
จังหวัดสุพรรณบุรี ประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นที่ 4 อำเภอของจังหวัด (7 ก.ย. 2554)
เกษตรจังหวัดเลย เตือนการระบาดของแมลงบั่ว (7 ก.ย. 2554)
จ.แม่ฮ่องสอน ถนนชำรุดเป็นระยะทางกว่า 100 เมตร ประชาชนใน 4 หมู่บ้านต้องเดินลุยน้ำลึก 1 เมตรออกจากหมู่บ้าน (7 ก.ย. 2554)
โฆษกรัฐบาลเผยนายกรัฐมนตรีสั่งการรัฐมนตรีทุกคนลงพื้นที่ดูแลช่วยเหลือประชาชนที่ประสบ อุทกภัยโดยเร่งด่วน (7 ก.ย. 2554)
สรุปรายงานสถานการณ์สาธารณภัย (6 ก.ย. 2554)
แจ้งเตือนสถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง (6 ก.ย. 2554)
รมว.เกษตรฯ สั่งการกรมชลประทานประสาน กฟผ. ลดการระบายน้ำจากเขื่อนภูมิพล (6 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรีระบุผู้ว่าราชการจังหวัดได้ให้ความช่วยเหลือดูแลประชาชนในเบื้องต้นแล้ว (5 ก.ย. 2554)
โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีระบุในหลายๆ พื้นที่ไม่สามารถระบายน้ำได้ทันที เพราะมีปริมาณน้ำมาก เป็นปัญหาทางภูมิศาสตร์ (5 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรีมอบนโยบายการบูรณาการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยอย่างเป็นระบบ (4 ก.ย. 2554)
ศอส. เปิดเผย ปัจจุบันจังหวัดที่ยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยทั้งสิ้น 9 จังหวัด (2 ก.ย. 2554)
กระทรวงไอซีที จัดระบบการสื่อสารเคลื่อนที่ และประสานความร่วมมือกับเครือข่ายรับสถานการณ์อุทกภัยทั่วประเทศ (2 ก.ย. 2554)
จังหวัดนครปฐมเร่งขับเคลื่อนบางระกำโมเดล เตรียมพร้อมรับสถานการณ์น้ำท่วม (2 ก.ย. 2554)
พายุพัดกระหน่ำพื้นที่ 3อำเภอของ จ.นราธิวาสบ้านเรือนราษฎรได้รับความเสียหายกว่า 180 หลัง (2 ก.ย. 2554)
นายกรัฐมนตรียืนยันบางระกำโมเดลเป็นโครงการต้นแบบในการป้องกันปัญหาอุทกภัยในระยะยาวอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ (2 ก.ย. 2554)
เทศบาลนครนครสวรรค์ ทำแนวกระสอบทราย และลงหินคลุก เสริมริมเขื่อนตลาดปากน้ำโพ ป้องกันน้ำเจ้าพระยาทะลักเข้า (1 ก.ย. 2554)
4 อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่น่าเป็นห่วง หลังความจุเกิน 100 เปอร์เซ็นต์ โดย 8 จังหวัดยังเผชิญอุทกภัย (1 ก.ย. 2554)
จังหวัดชัยนาทน้ำเริ่มเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนแล้ว (31 ส.ค. 2554)
เลขาฯ นายกฯ เร่ง ปภ.เสนอเงินช่วยเหลือผู้ถูกน้ำท่วม 5,000 บาทให้ ครม.พิจารณา (31 ส.ค. 2554)
กระทรวงคมนาคม เร่งรวบรวมรายละเอียดการขออนุมัติงบประมาณซ่อมเส้นทางที่ได้รับความเสียหายจากน้ำท่วม (31 ส.ค. 2554)
รัฐบาลเพิ่มวงเงินช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยปี 2554 เป็นกรณีพิเศษ (31 ส.ค. 2554)
นายกรัฐมนตรีเผยได้อนุมัติอัตราเงินช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยแล้ว (31 ส.ค. 2554)
ศอส.เตือนใช้ชีวิตช่วงน้ำท่วม เสี่ยงจมน้ำ ไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าช็อต (30 ส.ค. 2554)
สถาณการณ์น้ำเจ้าพระยาตอนบนหลายพื้นที่ระดับน้ำต่ำกว่าตลิ่ง ส่วนตอนล่างน้ำเหนือยังคงไหลหลากลงมาอย่างต่อเนื่อง (30 ส.ค. 2554)
กระทรวงสาธารณสุข เร่งจัดทำโมเดลแก้ไขปัญหาน้ำท่วมตามนโยบายรัฐบาล โดยใช้เครือข่ายในสังกัดสแกนทุกพื้นที่ที่มีปัญหา (30 ส.ค. 2554)
จากเหตุดินถล่มสูงกว่า 4 เมตร ปิดถนนเส้นเชียงใหม่ - ปาย แม่ฮ่องสอน บริเวณบ้านแม่เลา อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ (30 ส.ค. 2554)
ฝนตกหนักและคลื่นลมแรง (30 ส.ค. 2554)
นายกรัฐมนตรีลงพื้นที่จ.อุดรธานี พร้อมกำชับหน่วยงานเกี่ยวข้องศึกษาพื้นที่แก้ไขน้ำท่วม (30 ส.ค. 2554)
ประกาศศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก ฉบับที่ 3 (57 / 2554)เรื่อง ฝนตกหนักบริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออก (29 ส.ค. 2554)
ปภ.ระบุ 9 จังหวัดยังเผชิญน้ำท่วม ขณะที่นายกรัฐมนตรี ยังคงปฏิบัติภาระกิจตรวจสภาพน้ำท่วมที่จังหวัดอุดรธานี (29 ส.ค. 2554)
นายกรัฐมนตรีสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งให้ความช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบปัญหาอุทกภัย (29 ส.ค. 2554)
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ พระราชทานถุงยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมที่พันลาน (26 ส.ค. 2554)
ขอกว่า 256 ล้านบาทฟื้นฟูการเกษตรหลังน้ำลด (26 ส.ค. 2554)
"อภิสิทธิ์" ลงพื้นที่จังหวัดสุโขทัย เพื่อตรวจเยี่ยมผู้ประสบอุทกภัย (26 ส.ค. 2554)
อธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผย สถานการณ์น้ำในแม่น้ำ 4 สาย เริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติ (26 ส.ค. 2554)
น้ำในแม่น้ำมูลไหลเข้าท่วมชุมชนเทศบาลเมืองวารินชำราบ รวมทั้งอำเภอตาลสุม อำเภอม่วงสามสิบ (26 ส.ค. 2554)
น้ำท่วมพื้นที่ ๓ อำเภอของจังหวัดพังงา (26 ส.ค. 2554)
จังหวัดสุพรรณบุรี เพิ่มมาตรการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม ปี ๒๕๕๔ (25 ส.ค. 2554)
ในหลวงพระราชทานสิ่งของแก่ผู้ประสบอุทกภัยที่จังหวัดเชียงใหม่ (25 ส.ค. 2554)
สาธารณสุขจังหวัดพะเยา เตือนประชาชนระวังภัยสุขภาพที่มากับฤดูฝนและน้ำท่วม (25 ส.ค. 2554)
ผู้แทนพระองค์ฯมอบสิ่งของพระราชทานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยที่ อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ (25 ส.ค. 2554)
ผู้ว่าฯแพร่ร่วมกาชาด จัดโครงการปันน้ำใจให้พี่น้อง สามล้อเมืองแพร่ (25 ส.ค. 2554)
มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ)ยามยากช่วยเหลือผู้ประสบภัย (25 ส.ค. 2554)
กฟผ. ติดตามปริมาณน้ำในเขื่อนภูมิพล-เขื่อนสิริกิติ์อย่างใกล้ชิด เพื่อมิให้กระทบต่อประชาชน (25 ส.ค. 2554)
สธ.ตั้งวอร์รูมเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก หลังพบว่าสถานการณ์ของโรคน่าเป็นห่วง (25 ส.ค. 2554)
แนวป้องกันน้ำท่วมบริเวณโรงพยาบาลศิริราชและท่าเรือพรานนก ยังสามารถรองรับน้ำได้ แต่เป็นห่วงประชาชนนอกคันกั้นน้ำอาจได้รับผลกระทบ (24 ส.ค. 2554)
ผวจ.พิษณุโลกประสานเขื่อนสิริกิติ์ ลดการระบายน้ำลงจากเดิม 70 ล้านลูกบาศก์เมตร เหลือ 63 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อป้องกันน้ำท่วมตัวเมืองพิษณุโลก (24 ส.ค. 2554)
ศอส.เตือนใช้ชีวิตช่วงน้ำท่วม เสี่ยงอันตรายจากอุบัติภัยและโรคติดต่อ (24 ส.ค. 2554)
อุตุฯน่านเตือนภัยจากฝนตก น้ำป่าไหลหลาก และดินถล่ม (23 ส.ค. 2554)
สถานการณ์น้ำน่านที่ จ.พิษณุโลกน่าเป็นห่วงหลังจากเขื่อนสิริกิติ์เพิ่มการระบายน้ำจากเดิมวันละ 57 ล้านลบ.ม. เพิ่มเป็นวันละ 67 ล้านลบ.ม. ในเวลา 22.00 น. คืนนี้ (23 ส.ค. 2554)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 แจ้งให้สถานศึกษาในสังกัดเตรียมขนย้ายสิ่งของและหยุดการเรียนการสอน หากเกิดเหตุอุทกภัย (23 ส.ค. 2554)
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สรุปเกิดอุทกภัย รวม 30 จังหวัด คลี่คลายแล้ว 16 จังหวัด (22 ส.ค. 2554)
ผู้ประสบอุทกภัยใน จ.อยุธยา ร้องเรียนมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ไม่ได้รับการผ่อนผันพักชำระหนี้จาก ธ.ออมสิน ตามที่ประชาสัมพันธ์ (22 ส.ค. 2554)
ระดับน้ำในแม่กวงลำพูนเพิ่มสูงขึ้น ประชาชนเตรียมอพยพขนย้ายสิ่งของ (22 ส.ค. 2554)
น้ำท่วมบ้านเรือนที่ลำปาง (22 ส.ค. 2554)
ดินสไลท์ทับเส้นทางสายลำปาง-เด่นชัย (22 ส.ค. 2554)
“อภิสิทธิ์” เยี่ยมเยียนและมอบสิ่งของให้แก่ผู้ประสบอุทกภัยที่ จ.พระนครศรีอยุธยา (22 ส.ค. 2554)
รมต.เกษตรระบุการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมลุ่มน้ำยมมีการศึกษาทั้งตอนบน ตอนกลาง และตอนล่าง พร้อมสร้างเขื่อนขนาดเล็กแทนแก่งเสือเต้น โดยเร่งสร้างให้ได้ ในรัฐบาลนี้ (19 ส.ค. 2554)
นายกฯ เตรียมประชุมผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ร่วมกับผู้ว่าฯ ทุกจังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยเร่งช่วยเหลือประชาชน (19 ส.ค. 2554)
ปภ รายงานจนถึงขณะนี้ยังคงมีจังหวัดที่มีสถานการณ์อุทกภัย 11 จังหวัด (18 ส.ค. 2554)
สธ. สำรองเซรุ่มแก้พิษงูเพิ่มอีก 3,500 ขวด เพื่อป้องกันผู้ประสบภัยน้ำท่วมถูกงูพิษกัด (18 ส.ค. 2554)
กรมชลประทานเตือนให้ระวังน้ำท่วมลุ่มแม่น้ำยม-น่าน-เจ้าพระยา (18 ส.ค. 2554)
ประกาศเตือนภัย "ฝนตกหนักในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ" (18 ส.ค. 2554)
ล้างมือสะอาด ไอจามปิดปากจมูก ใช้ช้อนกลางทุกครั้ง หยุดยั้งโรค มือ เท้า ปาก (17 ส.ค. 2554)
น้ำดื่ม อาหารสุก ร่างกายสะอาด ระวังสัตว์พิษ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรคและภัยที่มาจากน้ำท่วม (17 ส.ค. 2554)
ธนาคารกรุงไทย ออกมาตรการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยทั้งลูกค้าธุรกิจและรายย่อย พร้อมให้สินเชื่อเพื่อเสริมสภาพคล่องและซ่อมแซมแก่ผู้ประกอบการ ปลอดชำระเงินต้นนาน 6 เดือน และให้กู้เพิ่ม (16 ส.ค. 2554)
ปภ.สรุปเกิดอุทกภัยจากนกเตน รวม 24 จังหวัด คลี่คลายแล้ว 14 จังหวัดยังมีพื้นที่น้ำท่วมใน 10 จังหวัด (16 ส.ค. 2554)
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กำชับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วางมาตรการป้องกันโรคระบาดหลังน้ำลด ทั้นใจรับสถานการณ์ได้ (16 ส.ค. 2554)
ทุกภาคฝนฟ้าคะนองพื้นที่เสี่ยงระวังอันตราย (16 ส.ค. 2554)
กระทรวงการคลัง มอบหมายให้กรมบัญชีกลางเร่งเบิกจ่ายเงินให้ทันต่อการบรรเทาความเดือนร้อนผู้ประสบอุกทกภัย (16 ส.ค. 2554)
นายกฯ ระบุ การแก้ปัญหาน้ำท่วมในระยะยาวจะต้องวางแผนระบบชลประทานทั้งหมด (15 ส.ค. 2554)
ปภ. รายงานปัจจุบันมี 9 จังหวัดที่ยังคงมีสถานการณ์อุทกภัย (15 ส.ค. 2554)
จ.อุบลราชธานี ระดับน้ำแม่น้ำโขงลดช้า นาข้าวเริ่มเน่าเปื่อยส่งกลิ่นเหม็น วอนรัฐบาลช่วยเหลือเร่งด่วน (15 ส.ค. 2554)
จ.สุราษฎร์ธานี ดำเนินการก่อสร้างบ้านให้กับผู้ประสบอุทกภัยบ้านพังทั้งหลังแล้ว 163 หลัง (15 ส.ค. 2554)
นายกรัฐมนตรี ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมและให้กำลังใจแก่ประชาชนที่ได้รบความเดือดร้อนในพื้นที่ภาคอีสาน (15 ส.ค. 2554)
ฉก ร.7 แม่ฮ่องสอน ตั้งศูนย์รับบริจาคเงิน และสิ่งของช่วยเหลือเหยื่อ นกเตน (11 ส.ค. 2554)
น้ำโขงเอ่อล้น ชั้นใต้ดินตลาดอินโดจีนมุกดาหาร และพื้นที่โดยรอบแล้ว (11 ส.ค. 2554)
จ.นครพนม มีน้ำท่วมขังพื้นที่การเกษตรกว่า 2 แสนไร่ คาดว่าหากฝนตกลงมาอีก อาจท่วมบ้านเรือนราษฎรได้ (9 ส.ค. 2554)
ผู้แทนพระองค์นำสิ่งของพระราชทานมอบให้กับผู้ประสบภัยน้ำท่วมที่ลำปาง (9 ส.ค. 2554)
สถานการณ์น้ำท่วมคลี่คลายแล้ว 13 จังหวัด และอีก 8 จังหวัด ยังมีสถานการณ์อุทกภัย (9 ส.ค. 2554)
เขื่อนเจ้าพระยาลดการระบายท้ายเขื่อน ผันน้ำเข้า 5 คลองสำคัญเหนือเขื่อนลดผลกระทบอ่างทอง อยุธยา (9 ส.ค. 2554)
เกษตรจังหวัดนนทบุรี เตือนเกษตรกรระวังน้ำท่วมเตรียมพร้อมรับมือ (9 ส.ค. 2554)
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม ลงพื้นที่น้ำท่วม นำถุงยังชีพไปช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (9 ส.ค. 2554)
จังหวัดแพร่ สรุปความเสียหายน้ำท่วม พร้อมเร่งช่วยเหลือและฟื้นฟู (9 ส.ค. 2554)
ปภ.รายงาน จ.อยุธยา และอ่างทอง เริ่มได้รับผลกระทบจากระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาที่สูงขึ้นแล้ว (9 ส.ค. 2554)
ปภ สรุปสถานการณ์อุทกภัยยังคงมีจังหวัดที่ประสบภัย 17 จังหวัด (9 ส.ค. 2554)
สธ.เผย สถานการณ์อุทกภัยทำให้ประชาชนป่วยแล้วกว่า 12,000 คน (9 ส.ค. 2554)
ผู้ว่าฯแพร่เร่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเยียวยาผู้ประสบอุทกภัยอย่างเร่งด่วน (8 ส.ค. 2554)
ชาวเขาเผ่าเมี่ยน บ้านสันเจริญ ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา จ.น่าน รอการช่วยเหลือหลังถูกน้ำป่าไหลหลากท่วมบ้านเรือน ถนนถูกตัดขาด (8 ส.ค. 2554)
น.พ.ค. 36 นำเครื่องจักรกลเข้าเปิดเส้นทางบ้านห้วยห้อม ต.แม่คง อ.แม่สะเรียงเพื่อนำสิ่งของเข้าช่วยเหลือราษฎรที่ประสบภัย (8 ส.ค. 2554)
พระสงฆ์วัดตะกู จ.อยุธยา ต้องพายเรือออกรับบิณฑบาตจากชาวบ้านหลังเกิดสถานการณ์น้ำท่วม (8 ส.ค. 2554)
ระดับน้ำในเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มมากขึ้นจนไหลบ่าเข้าท่วมพื้นที่ด้านทิศตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ในพื้นที่ 3 อำเภอ (8 ส.ค. 2554)
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จัดงานมหกรรมวิถีชนเผ่าที่จังหวัดเชียงใหม่ (8 ส.ค. 2554)
มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก มอบถุงยังชีพพระราชทานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่อำเภอวังชิ้น และอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ (8 ส.ค. 2554)
ครูและนักเรียนในอำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ช่วยกันทำความสะอาดอาคารเรียน (8 ส.ค. 2554)
ทหารตั้งโต๊ะรับบริจาคช่วยเหลือราษฏร (8 ส.ค. 2554)
น้ำท่วม อ.ท่าวังผา จ.น่าน กว่า 400 หลังคาเรือน จมน้ำสูงกว่า 2 เมตร พื้นที่การเกษตรเสียหายยับ (8 ส.ค. 2554)
เกิดเหตุน้ำป่าทะลักเข้าศูนย์พักพิงชั่วคราวแม่ละอูน – แม่ลามาหลวง ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 346 ครอบครัว (8 ส.ค. 2554)
สาธารณสุขจังหวัดแพร่ เตือนประชาชนดูแลสุขภาพในช่วงน้ำท่วมขัง (8 ส.ค. 2554)
ผู้แทนพระองค์ฯเชิญถุงพระราชทานมอบแก่ราษฎรผู้ประสบอุทกภัยที่จังหวัดแพร่ (8 ส.ค. 2554)
กฟผ. เปิดเผย พายุนกเตน ทำให้มีน้ำฝนไหลเข้าเขื่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 (6 ส.ค. 2554)
อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ ประชุมคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฯ พิจารณาหาแนวทางช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยนกเตน (6 ส.ค. 2554)
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รายงานยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยจากนกเตน 14 จังหวัด (5 ส.ค. 2554)
ผู้แทนพระองค์ฯเชิญถุงพระราชทานมอบแก่ราษฎรผู้ประสบอุทกภัยที่จังหวัดแพร่ (5 ส.ค. 2554)
กรุงไทย พร้อมปล่อยสินเชื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบ “นกเตน” ทั่วประเทศ (5 ส.ค. 2554)
จ.พิษณุโลกมอบถุงยังชีพให้กับราษฏรที่ประสบอุทกภัย ที่ อ.นครไทย เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ขณะนี้มีพื้นที่ 3 อำเภอที่ได้รับผลกระทบ กว่า 30 ตำบล (5 ส.ค. 2554)
ชุดปฏิบัติการพิเศษกว่า 200 นาย เดินทางไปยังบ้านปู่ทา หมู่ที่ 6 ต.แม่สามแลบ อ.สบเมย จ.แม่ฮ่องสอน เพื่อค้นหาผู้สูญหายจากดินถล่มทับบ้านเรือนราษฎร (5 ส.ค. 2554)
...
http://www.prd.go.th/more_news.php?offset=260&cid=56&filename=index
---------------------------------------------------------------
"ยิ่งลักษณ์" แจงผ่านเฟซบุ๊ก เผย 9 มาตรการแก้ปัญหาน้ำท่วม ตั้ง กก.ระดับจังหวัด แก้ปัญหาร่วมกับ ปชช.
วันที่ 05 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เวลา 13:32:09 น.
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้ชี้แจงผ่านเฟซบุ๊ก Yingluck Shinawatra ถึงการประชุมแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ว่า จากการประชุมวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ นายกรัฐมนตรีให้นโยบายเชิงปฏิบัติการแก้ไขปัญหาอุทกภัย โดยให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจัง นายกรัฐมนตรีได้เน้นนโยบายเชิงปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาอุทกภัย
ด้านมาตรการเห็นผลทันที 9 มาตรการ
มาตรการที่ 1 ต้องเร่งระบายน้ำท่วมออกทะเลให้หมดโดยเร็วที่สุด
มาตรการที่ 2 ต้องใช้แรงดันเรือหรือเครื่องในการดันน้ำให้หมดโดยฉับไว
มาตรการที่ 3 ใช้การบริหารทางเทคนิคด้วยการวัดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรการที่ 4 การช่วยเหลือราษฎร โดยเพิ่มบทบาทให้กองทัพทุกเหล่าทัพมาช่วยเหลือ ราษฎรที่ประสบปัญหาอุทกภัยให้มากยิ่งขึ้น
มาตรการที่ 5 การให้ข้อมูลข่าวสารกับพี่น้องประชาชนทั่วประเทศตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งนายกรัฐมนตรีมีความเชื่อมั่นว่า พี่น้องประชาชนทุกคนมีความรักความสามัคคี สามารถนำพาประเทศชาติให้ผ่านพ้นวิกฤตไปได้ด้วยดี
มาตรการที่ 6 การรักษาเขตตัวเมือง ด้วยการตรวจติดตามสภาพคันกั้นน้ำที่ทำจากดินให้มีสภาพแข็งแรง หากมีสภาพเก่าหรือชำรุดต้องติดตามแก้ไขให้อยู่ในสภาพคงทน สามารถเป็นคันกั้นน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรการที่ 7 กรมชลประทานปฏิบัติการขุดลอกคันกั้นน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมมาตรการดันน้ำลงทะเลอย่างฉับพลันทันที
มาตรการที่ 8 การริเริ่มโครงการประชาอาสา โดยให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วมแรงร่วมใจกัน ใช้เรือของตนเองที่มีอยู่ ในการดันน้ำลงทะเล โดยภาครัฐรับผิดชอบดูแลค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับน้ำมันเรือ
มาตรการที่ 9 ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำ เมื่อเกิดปัญหาอุทกภัยโดยจังหวัดตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดและมีพี่น้องประชาชนในทุกภาคส่วนของชุมชนและตัวแทนส่วนราชการระดับท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทร่วมกันในการแก้ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมและเกิดผลทางปฏิบัติทันที
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1317796175&grpid=00&catid=&subcatid=
---------------------------------------------------------------
เก็บตกภาพนายกยิ่งลักษณ์ กับภาระกิจลงพื้นที่น้ำท่วม
และภาระกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวบรวมมาจาก facebook ยิ่งลักษณ์
http://www.facebook.com/Y.Shinawatra
บันทึกเรื่องราว สืบสาวความจริง ทิ้งไว้ให้ลูกหลาน.
Save the stories. Investigate the truth. Give to the next generation.