การที่ข้าศึกบุกเข้ามาเพื่อจะยึดเมืองหรือยึดพื้นที่
ถ้าข้าศึกมีกำลังมากและคิดจะปิดล้อมทุกด้าน
เพื่อไม่ให้สามารถส่งเสบียงหรือกำลังพลหนุนได้
การเคลื่อนย้ายทัพไปเรื่อยๆ น่าจะเป็นวิธีที่ดีกว่า
การยอมโดนปิดล้อมจนขาดเสบียงหรือกำลังพลหนุน
ยิ่งสมัยก่อนเล่นกันโหดๆ
ปิดล้อมเมืองจนอดตายทั้งเมืองยังมี
เช่นเดียวกับวิธีที่พระเจ้าตากสินใช้
ในการตีฝ่าวงล้อมทัพพม่าออกไป
เพื่อที่จะได้ไม่อยู่ในวงล้อมของพม่านานเกินไป
เพราะข้าศึกอยู่วงนอกปิดล้อมทุกด้าน
ถ้าเขาเตรียมเสบียงมามากและยังปลูกข้าวบริเวณไม่ไกล
เท่ากับเขาสามารถอยู่ได้นานหลายปี
ในขณะที่เมืองที่ถูกปิดล้อม
จะเริ่มอดอยากขาดแคลนทั้งอาหารและยา
และไม่สามารถระดมไพร่พลมาเสริมได้อีก
จะเพลี่ยงพล้ำได้ง่ายดาย
สู้รวมไพร่พลตีฝ่าวงล้อมออกไปก่อน
หรือไม่ก็เคลื่อนย้ายไพร่พลไปเรื่อยๆ
จะทำให้ข้าศึกไม่เสียขบวน
เพราะการปิดล้อมข้าศึกได้กำหนดแผนงานไว้เรียบร้อยแล้ว
ว่าหน่วยนั้นทำยังงั้นหน่วยนี้ทำยังงี้
แต่การเคลื่อนย้ายไปเรื่อยๆ
ถ้าข้าศึกติดตามมาก็จะไม่ทันได้วางแผนการณ์อะไร
โอกาสโดนตีโต้กลับตอนเผลอ
หรือเมื่อถึงชัยภูมิที่เหมาะกับการตีโต้กลับได้
เหมือนกับกรณีตัวอย่างในเรื่องนี้
<<< วีรบุรุษสงคราม 2 รูปแบบ >>>
การที่ไม่ยอมเคลื่อนย้าย บางครั้งเป็นเพราะห่วงสมบัติเช่นบ้านเรือน
ถ้าเป็นกรณีม็อบก็คือการย้ายเวทีและเต้นท์ต่างๆ
แต่ถ้าข้าศึกบุกมาได้ก็โดนทำลายอยู่ดี
กรณีสงครามโลกครั้งที่สองที่โซเวียตสยบกองทัพฮิตเล่อร์ได้ ก็คือ
กรณีสงครามโลกครั้งที่สองที่โซเวียตสยบกองทัพฮิตเล่อร์ได้ ก็คือ
การถอยร่นไปเรื่อยๆ และกองทัพฮิตเล่อร์ก็เดินหน้าบุกไปเรื่อยๆ
เพราะปะทะกันตรงๆ ต้านไม่ไหว
ตอนนั้นกองทัพนาซีทั้งคนทั้งอาวุธพร้อมสุดๆ
สุดท้ายฤดูหนาวมาเยือน
โดย มาหาอะไร
กองทัพนาซีไม่คุ้นกับอากาศที่ติดลบหลายสิบองศาของโซเวียต
เลยทำให้ตายกันเยอะ และสุดท้ายก็พ่ายที่สมรภูมิด้านนี้ในที่สุดโดย มาหาอะไร
FfF