บันทึกเรื่องราว สืบสาวความจริง ทิ้งไว้ให้ลูกหลาน.
Save the stories. Investigate the truth. Give to the next generation.


21 สิงหาคม 2555

<<< รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ >>>

รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ
ท้ายประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๕
รายการบัญชียาหลักแห่งชาติประกอบด้วย
(๑) บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
(๒) บัญชียาจากสมุนไพร
“บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข” หมายความว่า รายการ
ยาแผนปัจจุบันสำหรับใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข ตามภาคผนวก ๑
ซึ่งประกอบด้วยบัญชีย่อย ๕ บัญชี ได้แก่ บัญชี ก บัญชี ข บัญชี ค บัญชี ง และบัญชี จ รวมทั้ง
รายการยาเภสัชตำรับโรงพยาบาล ตามภาคผนวก ๒
บัญชี ก หมายความว่า รายการยามาตรฐานที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่
พบบ่อย มีหลักฐานชัดเจนที่สนับสนุนการใช้มีประสบการณ์การใช้ในประเทศไทยอย่างพอเพียง
และเป็นยาที่ควรได้รับการเลือกใช้เป็นอันดับแรกตามข้อบ่งใช้ของยานั้น
บัญชี ข หมายความว่า รายการยาที่ใช้สำหรับข้อบ่งใช้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาในบัญชี ก
ไม่ได้ หรือไม่ได้ผล หรือใช้เป็นยาแทนยาในบัญชี ก ตามความจำเป็น
บัญชี ค หมายความว่า รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทาง โดยผู้ชำนาญ หรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมายจากผู้อำ นวยการของสถานพยาบาลนั้นๆ โดยมีมาตรการกำ กับการใช้ ซึ่ง
สถานพยาบาลที่ใช้จะต้องมีความพร้อม ตั้งแต่การวินิจฉัยจนถึงการติดตามผลการรักษา
เนื่องจากยากลุ่มนี้ เป็นยาที่ถ้าใช้ไม่ถูกต้อง อาจเกิดพิษหรือเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยหรือเป็นสาเหตุ
ให้เกิดเชื้อดื้อยาได้ง่าย หรือเป็นยาที่มีแนวโน้มในการใช้ไม่ตรงตามข้อบ่งชี้หรือไม่คุ้มค่าหรือมี
การนำไปใช้ในทางที่ผิด หรือมีหลักฐานสนับสนุนการใช้ที่จำกัด หรือมีประสบการณ์การใช้ใน
ประเทศไทยอย่างจำกัด หรือมีราคาแพงกว่ายาอื่นในกลุ่มเดียวกัน
บัญชี ง หมายความว่า รายการยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบาง
ข้อบ่งใช้ หรือมีแนวโน้มจะมีการสั่งใช้ยาไม่ถูกต้อง หรือเป็นรายการยาที่มีราคาแพง จึงเป็นกลุ่ม
ยาที่มีความจำเป็นต้องมีการระบุข้อบ่งใช้และเงื่อนไขการสั่งใช้ยา การใช้บัญชียาหลักแห่งชาติไป
อ้างอิงในการเบิกจ่ายควรนำข้อบ่งใช้และเงื่อนไขการสั่งใช้ไปประกอบในการพิจารณาอนุมัติการ
เบิกจ่ายจึงจะก่อประโยชน์สูงสุด
ทั้งนี้ยาในบัญชี ง จำเป็นต้องใช้สำหรับผู้ป่วยบางราย แต่อาจทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย
หรือก่อปัญหาเชื้อดื้อยาที่ร้ายแรง การสั่งใช้ยาซึ่งต้องให้สมเหตุผลเกิดความคุ้มค่าสมประโยชน์
-๒-
จะต้องอาศัยการตรวจวินิจฉัยและพิจารณาโดยผู้ชำนาญเฉพาะโรคที่ได้รับการฝึกอบรม
ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องจากสถานฝึกอบรม หรือได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติจากแพทยสภา
หรือทันตแพทยสภาเท่านั้น และโรงพยาบาลจะต้องมีระบบการกำกับประเมินและตรวจสอบการ
ใช้ยา (Drug Utilization Evaluation, DUE) โดยต้องมีการเก็บข้อมูลการใช้ยาเหล่านั้นเพื่อ
ตรวจสอบในอนาคตได้
บัญชี จ หมายความว่า
บัญชี จ(๑) รายการยาสำหรับโครงการพิเศษของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงาน
ของรัฐ ที่มีการกำหนดวิธีการใช้และการติดตามประเมินการใช้ยาตามโครงการ โดยมีหน่วยงาน
นั้นรับผิดชอบ และมีการรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลัก
แห่งชาติเป็นระยะตามความเหมาะสม เพื่อพิจารณาจัดเข้าประเภทของบัญชีย่อยอื่นในบัญชียา
หลักต่อไปเมื่อมีข้อมูลเพียงพอ
บัญชี จ(๒) รายการยาสำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะ ให้เข้าถึงยาได้อย่างสมเหตุผล
และคุ้มค่า ซึ่งมีการจัดกลไกกลางเป็นพิเศษในกำกับการใช้ยาภายใต้ความรับผิดชอบร่วมกันของ
ระบบประกันสุขภาพ ซึ่งดูแลโดย กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง สำนักงานประกันสังคม
กระทรวงแรงงาน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมี
แนวทางกำกับการใช้ยาตามภาคผนวก ๓
“รายการยาสำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะ” ตามบัญชีจ(๒) หมายความว่า ยาที่
จำเป็นต้องใช้สำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย โดยยามีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมี
แนวโน้มจะมีการสั่งใช้ยาไม่ถูกต้อง หรือ เป็นยาที่ต้องอาศัยความรู้ ความชำนาญเฉพาะโรค หรือ
ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง และ เป็นยาที่มีราคาแพงมาก หรือส่งผลอย่างมากต่อความสามารถในการ
จ่ายทั้งของสังคมและผู้ป่วย จึงต้องมีระบบกำกับและอนุมัติการสั่งใช้ยา (authorized system)
ที่เหมาะสม โดยหน่วยงานสิทธิประโยชน์หรือหน่วยงานกลางที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้ เพื่อให้
เป็นไปตามข้อบ่งใช้และเงื่อนไขการสั่งใช้ยา จึงจะก่อประโยชน์สูงสุด โรงพยาบาลจะต้องมี
ระบบการกำกับประเมินและตรวจสอบการใช้ยา และมีเก็บข้อมูลการใช้ยาเหล่านั้น เพื่อให้
ตรวจสอบโดยกลไกกลางในอนาคตได้
“บัญชียาจากสมุนไพร” หมายความว่า รายการยาจากสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทยหรือยา
แผนโบราณ และยาพัฒนาจากสมุนไพร ซึ่งมีตัวยาในสูตรตำรับ และรายละเอียดตาม
ภาคผนวก ๔ โดยมีรายการยาจากสมุนไพรที่แนบรายการเภสัชตำรับโรงพยาบาลรวมอยู่แล้ว
“เภสัชตำรับโรงพยาบาล” หมายความว่า รายการยาที่โรงพยาบาลสามารถผลิตขึ้นใช้
ภายในโรงพยาบาลตามเภสัชตำรับของโรงพยาบาล หรือตามที่ระบุในภาคผนวก ๒ หรือยาจาก
สมุนไพรที่ปรากฏรวมอยู่ในบัญชียาจากสมุนไพรด้วย
ภาคผนวก 1
รายการยาในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2555
1
คำอธิบายรายการยาในบัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2555
รายละเอียดของรายการยาประกอบด้วยชื่อสามัญของยา รูปแบบของยา บัญชีย่อย นอกจากนี้
ยังอาจมี ความแรงของยา ขนาดบรรจุยา เงื่อนไข (การสั่งใช้ยาหรือการเลือกยาเข้าบัญชียาของ
โรงพยาบาล) คำเตือนและข้อควรระวัง หมายเหตุรายละเอียดสถานะของยา และข้อกำหนดอื่นๆ
ให้ถือว่ายาที่มีคุณสมบัติตรงตามข้อกำหนดข้างต้น เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
การแสดงชื่อสามัญทางยา (generic name และรูปแบบยา (dosage form)
ส่วนใหญ่ชื่อสามัญทางยาจะแสดงด้วยชื่อ International Nonproprietary Name (INN) หากชื่อ
INN นั้นไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลาย จะแสดงด้วยชื่อ INN ตามด้วยชื่ออื่นไว้ในวงเล็บ ในกรณียาชนิดนั้นไม่มีชื่อ
INN ให้ใช้ชื่ออื่นแทน เช่น British Approved Names (BAN) , United States Approved Name
(USAN) เป็นต้น
ยาทุกรายการหมายถึงยาที่มีสารออกฤทธิ์ 1 ชนิดที่มีรูปแบบยาตามที่ระบุไว้เท่านั้น เว้นแต่ยาสูตร
ผสมจะแสดงชื่อสามัญทางยาของสารออกฤทธิ์ในสูตรยารายการนั้นทั้งหมด
รูปแบบยาที่แสดงในบัญชี หมายถึง รูปแบบยาทั่วไป ที่มิได้มีการพัฒนารูปแบบการบริหารยาเป็น
พิเศษหรือเป็นการเฉพาะ ในกรณีที่หมายถึงรูปแบบยาที่มีการพัฒนารูปแบบการบริหารยาเป็นพิเศษหรือ
จำเพาะเจาะจง จะระบุข้อกำหนดเพิ่มเติมไว้ โดยระบุรูปแบบยานั้นๆ อย่างชัดเจน ตัวอย่างรูปแบบที่มีการ
พัฒนารูปแบบยาเป็นพิเศษ เช่น ยาเตรียมสำหรับออกฤทธิ์นานทุกชนิด vaginal tablet, rectal
suppository, sublingual tablet, enteric coated tablet, effervescent tablet, orodispersible
tablet, microspheres suspension for injection เป็นต้น ตัวอย่างการจำเพาะเจาะจงรูปแบบยาบางชนิด
เช่น Ibuprofen film coated tablet หมายถึง ยาเม็ด ibuprofen ชนิดเคลือบฟิล์ม ไม่รวมถึงชนิดเคลือบ
น้ำตาล ชนิดตอกอัดเม็ดธรรมดา รวมทั้งชนิดออกฤทธิ์นาน เป็นต้น
ในกรณีเป็นเภสัชตำรับโรงพยาบาลจะระบุอักษร “hosp” ไว้ในวงเล็บท้ายรูปแบบยา เช่น sol
(hosp) หมายถึง ยาที่สถานพยาบาลผลิตเองในรูปแบบ solution เป็นต้น
คำจำกัดความรูปแบบยาที่สำคัญ
tab / cap หมายถึง ยาเม็ด หรือแคปซูล แบบ immediate release (IR) สำหรับกินทั่วไป ที่มิได้มี
การพัฒนารูปแบบการบริหารยาเป็นการเฉพาะหรือเป็นพิเศษ เช่น compressed tablet, film coated
tablet, sugar coated tablet เป็นต้น
SR tab / cap หมายถึง ยาเม็ดหรือแคปซูลสำหรับรับประทานที่เป็นยาออกฤทธิ์นานทุกชนิด เช่น
controlled release, extended release, modified release, slow release เป็นต้น
EC tab / cap หมายถึง ยาเม็ดหรือแคปซูล สำหรับรับประทานที่ออกแบบให้ตัวยาละลายในลำไส้
(enteric coated)
dry syrup หมายถึง ผงแห้งของส่วนผสมตัวยาหรือสารเคมี ที่ต้องเติมน้ำกระสายยาที่เหมาะสมก่อน
ใช้จึงจะได้ยาน้ำเชื่อมตามต้องการ เช่น ยาน้ำแขวนตะกอน สารละลายใส เป็นต้น
2
syrup หมายถึง oral solution หรือ suspension โดยมีสารเพิ่มความหวาน (footnote; โดยมีสาร
เพิ่มความหวานเป็นน้ำตาลซูโครส อาจใช้น้ำตาลชนิดอื่นแทนน้ำตาลซูโครส (เช่น dextrose) หรือใช้สารอื่นที่
ไม่ใช่น้ำตาล (เช่น sorbitol glycerin และ propylene glycol) สำหรับผู้ป่วยที่ต้องการควบคุมน้ำตาล อาจ
ใช้สารเพิ่มความหวานอื่นที่ไม่ให้พลังงานแทน (เช่น saccharin หรือ artificial sweetener อื่น) (เช่น
hydroxyethylcellulose หรือ methylcellulose) สารที่ใช้แทนน้ำตาลที่ให้ความหวานและความหนืดชนิด
อื่นๆ ในความเข้มข้นสูง)
eye drop หมายถึง ยาเตรียมปราศจากเชื้อสำหรับหยอดตา sterile solution หมายถึง ยา
ปราศจากเชื้อในรูปแบบของสารละลาย สำหรับฉีด หยดเข้าทางหลอดเลือดดำ หรือ irrigation
ข้อกำหนดเฉพาะของรายการยา
ข้อกำหนดเฉพาะของรายการยาที่สำคัญ มีดังนี้
1) ความแรง ยาบางรายการที่ระบุความแรงของสารออกฤทธิ์ไว้ ให้ถือว่ารายการยาที่มีความแรงตามที่
กำหนดเป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติเท่านั้น โดยแสดงรายละเอียดเฉพาะของความแรงยาไว้ในวงเล็บท้าย
รูปแบบยาหรือยาสูตรผสมบางชนิดมีการระบุความแรงไว้ที่ชื่อยาหรือที่กลุ่มยา เช่น
- Gliclazide tab (เฉพาะ 80 มิลลิกรัม) หมายถึง ไม่รวมยาในความแรงอื่น เช่น Gliclazide 30
มิลลิกรัม เป็นต้น
- Sodium phosphates enema มีตัวยาสำคัญต่อ 100 ml คือ Sodium biphosphate 15.2-
16.8 กรัม และ Sodium phosphate 5.7-6.3 กรัม ทั้งนี้ไม่รวมสูตรที่มีสัดส่วนของส่วนประกอบที่แตกต่าง
จากที่กำหนด เช่นมี Sodium biphosphate น้อยกว่า 15.2 กรัม
- Amino acid solution ชนิด high essential amino acid มีสัดส่วนของ essential amino
acid > 60% ของ total amino acid ทั้งนี้ไม่รวมถึงสูตรที่มี essential amino acid ต่ำกว่าหรือ
เท่ากับ 60%
2) ขนาดบรรจุ ยาบางรายการที่ระบุขนาดบรรจุไว้ อาทิ ยากลุ่ม contrast media เป็นต้น ให้ถือว่ายาที่มี
ขนาดบรรจุตามที่กำหนดเท่านั้นเป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
3) เงื่อนไข ซึ่งประกอบไปด้วย
3.1) เงื่อนไขการสั่งใช้ยา บัญชียาหลักแห่งชาติเป็นมาตรการหนึ่งในระบบยาแห่งชาติในการ
ส่งเสริมการใช้ยาอย่างเป็นขั้นตอนอย่างสมเหตุผล ดังนั้น หากรายการยาใดมีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความ
เหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมีแนวโน้มว่าจะมีการสั่งใช้ไม่ถูกต้อง ก็ได้ระบุข้อบ่งใช้ไว้ในเงื่อนไข
การสั่งยา เพื่อเป็นแนวทางในการสั่งใช้ยาสำหรับแพทย์ รวมทั้ง เป็นข้อมูลสำหรับสถานพยาบาลเพื่อ
ประกอบการจัดระบบกำกับ ติดตาม ให้เกิดการใช้ยารายการนั้น ๆ อย่างสมเหตุผล
การระบุเงื่อนไขการสั่งใช้ยานั้นมีหลักการเพื่อส่งเสริมให้มีการเข้าถึงยาโดยมีการใช้ยาอย่างอย่างสม
เหตุผล โดย
ยาในบัญชี ก และ ข จะระบุเงื่อนไขก็ต่อเมื่อพิจารณาว่ายานี้อยู่ในบัญชี ก หรือ ข เมื่อมีเงื่อนไข
เฉพาะภาวะหรือโรคนั้นเท่านั้น ถ้าใช้ในภาวะหรือโรคอื่นจะไม่ถือว่าอยู่ในบัญชี
ยาในบัญชี ค และ ง ควรมีการระบุเงื่อนไขทุกรายการ เนื่องจาก ยาในกลุ่มนี้มีหลายข้อบ่งใช้ มี
แนวโน้มการใช้ที่ไม่ถูกต้อง ยามีราคาแพง มักจะใช้ได้หลายกรณี
3
สำหรับยาในบัญชี จ(2) เป็นยาที่มีการจัดกลไกสำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะให้สามารถ
เข้าถึงยาดียิ่งขึ้น การระบุเงื่อนไขจึงต้องกำหนดแนวทางกำกับการใช้ยาเพิ่มเติมจากข้อบ่งใช้ที่คัดเลือกไว้ใน
บัญชียาหลักแห่งชาติ
แนวทางกำกับการใช้ยาบัญชี จ(2) ตามภาคผนวก 3 ประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้ คือ 1. ระบบ
อนุมัติการใช้ยา 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล 3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา 4. เกณฑ์อนุมัติการ
ใช้ยา/เกณฑ์การวินิจฉัยโรค 5. ขนาดยาที่แนะนำ/วิธีการให้ยา 6. ระยะเวลาในการรักษา 7. การติดตาม/
การประเมินผลการรักษา 8. ข้อแนะนำเพิ่มเติม โดยการขออนุมัติใช้ยาสถานพยาบาลต้องปฏิบัติตาม
แนวทางที่กำหนดทุกข้อ และมีการเก็บข้อมูลการใช้ยาเหล่านั้น เพื่อให้ตรวจสอบโดยกลไกกลางในอนาคตได้
คำอธิบายของแต่ละหัวข้อเป็น ดังนี้
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
เป็นระบบที่ใช้ในการกำกับการใช้ยาของหน่วยงานสิทธิประโยชน์ หรือหน่วยงานกลางที่
ได้รับมอบหมาย แบ่งเป็น 2 ระบบ ดังนี้
? ระบบที่ต้องขออนุมัติก่อนการรักษา (Pre-Authorization)
เป็นระบบที่ต้องขออนุมัติการใช้ยาจากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ หรือหน่วยงานกลาง ก่อน
ให้การรักษา ซึ่งใช้ในกรณีที่ไม่ใช่ภาวะฉุกเฉิน โดยรายละเอียดของระบบอนุมัติการใช้ยาในแต่ละแนวทาง
กำกับการใช้ยา ได้พิจารณาตามความเหมาะสมของยาและข้อบ่งใช้
? ระบบที่ต้องขออนุมัติภายหลังการรักษา (Post- Authorization)
? เป็นระบบที่ต้องขออนุมัติการใช้ยาจากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ หรือหน่วยงานกลาง
ภายหลังการรักษา ซึ่งใช้ในกรณีเมื่อผู้ป่วยมาด้วยภาวะฉุกเฉิน หรือจำเป็นต้องได้รับยาในทันทีมิเช่นนั้นผู้ป่วย
อาจถึงแก่ชีวิตได้โดยรายละเอียดของระบบอนุมัติการใช้ยาในแต่ละแนวทางกำกับการใช้ยา ได้พิจารณาตาม
ความเหมาะสมของยาและข้อบ่งใช้
ทั้งนี้มียาบางรายการมีระบบอนุมัติการใช้ยาทั้งแบบก่อนการรักษา และระบบภายหลังการ
รักษา เช่น ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) ในข้อบ่งใช้ โรคภูมิคุ้มกัน
บกพร่องปฐมภูมิ (primary immunodeficiency diseases) เป็นต้น
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
สถานพยาบาลที่มีการใช้ยาต้องเป็นสถานพยาบาลที่มีความเหมาะสมในประเด็นที่สำคัญ
เช่น
- ความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการรักษา/วินิจฉัยโรค
- ความพร้อมของบุคลากรที่ต้องใช้ในการรักษา/วินิจฉัยโรค เป็นต้น
โดยมีการลงทะเบียนสถานพยาบาลกับหน่วยงานสิทธิประโยชน์ หรือหน่วยงานกลางที่ได้รับ
มอบหมาย
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
แพทย์ผู้สั่งใช้ยาต้องมีคุณสมบัติเหมาะสมในการใช้ยาให้เป็นไปอย่างสมเหตุผลตามแนวทาง
กำกับการใช้ยาที่กำหนด
โดยมีการลงทะเบียนแพทย์ผู้ทำการรักษากับหน่วยงานสิทธิประโยชน์ หรือหน่วยงานกลางที่
ได้รับมอบหมาย
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา / เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
4
เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา หรือเกณฑ์การวินิจฉัยโรค ได้แก่ ข้อกำหนดในการวินิจฉัยโรค หรือ
การใช้ยาให้เป็นไปตามมาตรฐานการรักษาและหลักฐานทางวิชาการ เนื่องจากยาบัญชี จ(2) เป็นยาที่มีความ
เหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมีแนวโน้มจะมีการสั่งใช้ยาไม่ถูกต้อง หรือเป็นยาที่ต้องอาศัยความรู้
ความชำนาญเฉพาะโรค หรือใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อให้เป็นไปตามข้อบ่งใช้ จึงจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดใน
การรักษา
5. ขนาดยาที่แนะนำ / วิธีการให้ยา
ขนาดยาที่แนะนำ หรือวิธีการให้ยา มีข้อกำหนดตามมาตรฐานการรักษาและหลักฐานทาง
วิชาการ ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงข้อจำกัดของระบบประกันสุขภาพในภาพรวมของประเทศด้วย
6. ระยะเวลาในการรักษา
ระยะเวลาในการรักษา มีข้อกำหนดตามมาตรฐานการรักษาและหลักฐานทางวิชาการ ทั้งนี้
โดยคำนึงถึงข้อจำกัดของระบบประกันสุขภาพในภาพรวมของประเทศด้วย
7. การติดตาม / การประเมินผลการรักษา
การติดตาม หรือประเมินผลการรักษา มีข้อกำหนดตามมาตรฐานการรักษา และหลักฐาน
ทางวิชาการ เพื่อให้ทราบถึงผลการรักษา อาการไม่พึงประสงค์ และการพิจารณาตรวจวินิฉัยที่จำเป็นเพื่อ
ปรับปรุงแนวทางการรักษาผู้ป่วยตามความเหมาะสม
8. ข้อแนะนำเพิ่มเติม
ข้อแนะนำที่มีข้อมูลทางวิชาการสนับสนุนเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการรักษา
3.2) ข้อมูลสำคัญอื่นๆ ของรายการยา เช่น คำเตือนและข้อควรระวัง หมายเหตุที่สำคัญของตัว
ยานั้น
- คำเตือน และข้อควรระวัง ระบุในกรณีซึ่งมีผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่มีความสำคัญ เช่น พบบ่อย
หรืออาจเป็นอันตรายทั้งที่มีระบุไว้ในเอกสารกำกับยาหรือเป็นข้อมูลใหม่ ที่ควรสื่อสารให้ผู้ใช้บัญชีรับทราบ
โดยมีหลักฐานยืนยันชัดเจน
- หมายเหตุได้แก่ คำแนะนำ ข้อสังเกต คำอธิบาย ที่สำคัญซึ่งต้องการสื่อสารให้ผู้ใช้บัญชีรับทราบ
5
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
กลุ่มยา 1 Gastro-intestinal system
1.1 Antacids and other drugs for dyspepsia
1. Aluminium hydroxide chewable tab, tab, susp,
susp (hosp)
2. Aluminium hydroxide + Magnesium hydroxide chewable tab, tab, susp,
susp (hosp)
3. Simeticone (Simethicone) chewable tab, susp ก
4. Aluminium hydroxide + Magnesium hydroxide +
Simeticone 25-50 mg
chewable tab, tab ก
5. Compound Cardamom Mixture
(Mist Carminative) เฉพาะสูตรที่ไม่มี sodium bicarbonate
mixt, mixt (hosp) ก
1.2 Antispasmodics and other drugs altering gut motility
1. Dicycloverine hydrochloride (Dicyclomine
hydrochloride)
tab ก
2. Domperidone tab (as base/maleate),
susp (as base/maleate)
3. Hyoscine butylbromide (Hyoscine-n-butylbromide) tab, syr, sterile sol ก
4. Metoclopramide tab, syr, sterile sol ก
5. Mebeverine hydrochloride tab ข
1.3 Ulcer-healing drugs and drugs used in variceal bleeding
1. Omeprazole EC cap (as base) ก
2. Ranitidine hydrochloride film coated tab ก
3. Omeprazole sodium sterile pwdr ข
4. Ranitidine hydrochloride sterile sol ข
5. Pantoprazole sodium sterile pwdr ค
6. Sucralfate tab , susp ค
เงื่อนไข
ใช้เฉพาะกรณีหญิงตั้งครรภ์
6
7. Bismuth subsalicylate tab ง
เงื่อนไข
1. ใช้เป็น second-line drug ในการกำจัด H.pyroli
2. ห้ามใช้ในเด็กอายุน้อยกว่า 12 ปี
8. Lauromacrogol 400 (Polidocanol) sterile sol ง
เงื่อนไข
1. ใช้ช่วยห้าม variceal bleeding ผ่านทาง endoscopy และใช้สำหรับ sclerotherapy
2. ใช้สำหรับ varicose vein และ hemorrhoid
9. Octreotide acetate sterile sol (เฉพาะ 0.1 mg/
1 ml) ยกเว้นชนิดออกฤทธิ์
นาน
เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับ high output pancreatic fistula
2. ใช้สำหรับ variceal bleeding ในกรณีที่มีหลักฐานว่าเป็นภาวะเลือดออกจาก portal hypertensive
gastropathy โดยใช้ร่วมกับ therapeutic endoscopic intervention
1.4 Drugs used in acute diarrhea
1. Oral rehydration salts (ORS) oral pwdr, oral pwdr
(hosp)
เมื่อผสมน้ำแล้วมีตัวยาสำคัญต่อลิตร ดังนี้
- Sodium chloride 2.6 g - Trisodium citrate dihydrate 2.9 g
- Potassium chloride 1.5 g - Glucose 13.5 g
และมี molar concentration ต่อลิตรดังนี้
- Glucose 75 mEq - Sodium 75 mEq
- Chloride 65 mEq - Potassium 20 mEq
- Citrate 10 mmol - Osmolarity 245 mOsm
คำแนะนำ
การชดเชยสารน้ำและเกลือแร่เป็นเป้าหมายสำคัญในการรักษาโรคท้องร่วงเฉียบพลัน
การใช้ยาต้านแบคทีเรียในผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นสิ่งไม่จำเป็นและควรหลีกเลี่ยง
2. Zinc sulfate oral sol (hosp) ก
คำแนะนำ
ปัจจุบันองค์การอนามัยโลกและยูนิเซพแนะนำให้เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบทุกคน ที่มีอาการท้องร่วงได้รับ
ธาตุสังกะสีเสริมในกระบวนการรักษา โดยให้ยานาน 10-14 วัน เพราะช่วยลดความรุนแรงของโรค ลดระยะ
เวลาการเป็นโรคและป้องกันการเกิดท้องร่วงในครั้งถัดไปได้ด้วย
3. Loperamide hydrochloride cap, tab ข
เงื่อนไข
ห้ามใช้กับเด็กอายุน้อยกว่า 12 ปี ควรใช้กับผู้ใหญ่เฉพาะเมื่อจำเป็นและไม่มีข้อห้ามใช้
7
1.5 Drugs used in chronic bowel disorders
1. Sulfasalazine tab, EC tab ค
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ chronic inflammatory bowel disease
2. Mesalazine (Mesalamine) EC tab , rectal supp ค
เงื่อนไข
1. ชนิดเม็ด ใช้เป็นทางเลือกของ sulfasalazine ในกรณีผู้ป่วยแพ้ยากลุ่มซัลฟา หรือต้องการลดอาการข้างเคียง
จากการใช้ยา
2. ชนิดเหน็บทวารหนัก ใช้สำหรับ ulcerative colitis (บริเวณ sigmoid และ rectum) และ radiation proctitis
1.6 Laxatives
1. Bisacodyl EC tab, rectal supp ก
2. Castor oil oil ก
3. Glycerol rectal supp ก
4. Senna tab ก
5. Magnesium hydroxide susp, susp (hosp) ก
6. Magnesium sulfate mixt, mixt (hosp), sol,
sol (hosp)
7. Sodium phosphates enema ก
มีตัวยาสำคัญต่อ 100 ml ดังนี้
- Sodium biphosphate 15.2 - 16.8 g
- Sodium phosphate 5.7 - 6.3 g
8. Lactulose syr ข
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ hepatic encephalopathy หรือ chronic constipation ในเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี หรือ
ใช้เป็นทางเลือกในหญิงตั้งครรภ์
9. Macrogols (Polyethylene glycol, PEG)
with electrolytes
oral pwdr (hosp) ค
เงื่อนไข
ใช้สำหรับเตรียมลำไส้ใหญ่ก่อนการผ่าตัดหรือตรวจลำไส้
หมายเหตุ
ไม่แนะนำให้ใช้เป็นยาระบายหรือยาถ่าย
8
10. Sodium phosphates oral sol ค
มีตัวยาสำคัญต่อ 5 ml ดังนี้
- Sodium biphosphate 0.9 g
- Sodium phosphate 2.4 g
เงื่อนไข
ใช้สำหรับเตรียมลำไส้ใหญ่ก่อนการผ่าตัดหรือตรวจลำไส้
คำเตือนและข้อควรระวัง
1. ไม่ควรรับประทานเกินครั้งละ 45 มิลลิลิตร และไม่เกิน 90 มิลลิลิตร ภายใน 24 ชั่วโมง
2. ไม่แนะนำให้ใช้ยานี้เพื่อทดแทนการขาดฟอสเฟต หรือใช้เป็นยาระบายหรือยาถ่าย
3. ควรระวังในผู้ป่วยสูงอายุผู้ป่วยโรคไตวาย และผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว
1.7 Local preparations for anal and rectal disorders
1. Local anesthetic + Corticosteroid
with/without astringent
cream, oint, rectal supp ข
เงื่อนไข
1. หนึ่งรูปแบบให้เลือก 1 สูตร
2. ใช้ไม่เกิน 7 วัน
1.8 Drugs affecting intestinal secretions
1. Colestyramine (Cholestyramine) oral pwdr ข
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ bile-acid diarrhea และ short bowel syndrome
2 . Pancreatic enzymes
ต้องมี lipase activity ไม่น้อยกว่า
1,200 USP units/cap หรือ tab
cap, tab , EC cap , EC tab ง
เงื่อนไข
ใช้เฉพาะผู้ป่วยที่เป็น pancreatic insufficiency เท่านั้น
3. Ursodeoxycholic acid (Ursodiol) cap ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ cholestatic liver disease ได้แก่ primary biliary cirrhosis, sclerosing cholangitis, biliary
atresia, neonatal hepatitis, chronic cholestasis และ TPN-induced cholestasis
หมายเหตุ
ส่วนใหญ่นิ่วในถุงน้ำดีใช้ยานี้ไม่ได้ผล
9
กลุ่มยา 2 Cardiovascular system
2.1 Positive inotropic drugs
1. Digoxin tab, elixir, sterile sol ก
2. Milrinone lactate sterile sol ง
เงื่อนไข
1. ใช้เพิ่มการบีบตัวของหัวใจในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดหัวใจ
2. ใช้ทดแทนหรือเสริม dopamine หรือ dobutamine ใน advanced heart failure
3. ใช้เพื่อเพิ่มการบีบตัวของหัวใจในผู้ป่วย advanced heart failure ที่เคยใช้beta blocker มาก่อน
2.2 Diuretics
1. Furosemide tab, sterile sol ก
2. Hydrochlorothiazide (HCTZ) tab ก
3. Mannitol sterile sol ก
4. Spironolactone tab ก
5. Amiloride hydrochloride + Hydrochlorothiazide (HCTZ) tab (เฉพาะ 5 + 50 mg) ข
2.3 Anti-arrhythmic drugs
1. Adenosine sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ supraventricular arrhythmias และการตรวจพิเศษทางหัวใจ
2. Atropine sulfate sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ symptomatic sinus bradycardia
3. Lidocaine hydrochloride (preservative free) sterile sol ,
sterile sol (hosp)
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ ventricular arrhythmias
4. Magnesium sulfate sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ ventricular tachycardia, refractory supraventricular tachyarrhythmias
10
5. Verapamil sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ supraventricular arrhythmias (SVT) และ atrial fibrillation (AF)
6. Amiodarone hydrochloride tab, sterile sol ค
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ supraventricular , ventricular and atrial arrhythmias
7. Flecainide acetate tab ง
เงื่อนไข
ใช้กับผู้ป่วยที่ใช้ยาอื่นควบคุมจังหวะการเต้นผิดปกติของหัวใจไม่ได้ผล
8. Propafenone hydrochloride tab ง
เงื่อนไข
1. ใช้กับผู้ป่วยที่ใช้ยาอื่นควบคุมการเต้นของหัวใจไม่ได้ผล
2. ใช้สำหรับ refractory supraventricular tachyarrhythmias
2.4 Beta-adrenoceptor blocking drugs
1. Atenolol tab ก
2. Metoprolol tartrate immediate release tab ก
3. Propranolol hydrochloride tab ก
4. Carvedilol tab ค
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ systolic heart failure
2.5 Drugs affecting the renin-angiotensin system and some other
antihypertensive drugs
2.5.1 Vasodilator antihypertensive drugs
1. Hydralazine hydrochloride tab, sterile pwdr ก
เงื่อนไข
ชนิดฉีดใช้สำหรับ hypertensive emergencies1 ในหญิงตั้งครรภ์
1 hypertensive emergencies หมายถึง ภาวะที่มี target organ damage (TOD) เช่น hypertensive encephalopathy, acute pulmonary edema,
eclampsia เป็นต้น โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีความดัน diastolic ตั้งแต่ 120-130 mmHg และควรใช้ยาฉีดในการรักษา
11
2. Sodium nitroprusside sterile pwdr ก
เงื่อนไข
ใช้เป็นมาตรฐานการรักษาใน hypertensive emergencies (ยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์)
2.5.2 Centrally acting antihypertensive drugs
1. Methyldopa tab ก
เงื่อนไข
ใช้สำหรับรักษาความดันเลือดสูงในหญิงตั้งครรภ์
2.5.3 Alpha-adrenoceptor blocking drugs
1. Prazosin hydrochloride tab ข
2. Doxazosin mesilate immediate release tab ค
2.5.4 Angiotensin-converting enzyme inhibitors
1. Enalapril maleate tab ก
2. Captopril tab ก
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ hypertensive urgency2
หมายเหตุ
กรณีที่สถานพยาบาลไม่มียาฉีดหรือไม่สามารถใช้ยาฉีดในการรักษา hypertensive emergencies
อาจพิจารณาใช้ captopril เป็นทางเลือกในการรักษา
2.5.5 Angiotensin-II receptor antagonists
1. Losartan potassium tab (เฉพาะ 50, 100 mg) ค
เงื่อนไข
1. ใช้กับผู้ป่วยที่ใช้ยา ACE inhibitors ไม่ได้ เพราะเกิดอาการไม่พึงประสงค์
2. ใช้กับผู้ป่วยโรคไตทั้งที่มีหรือไม่มีโรคเบาหวานร่วมด้วย (diabetic หรือ non-diabetic renal disease)
2 hypertensive urgency หมายถึง ภาวะที่มีความดันเลือดสูงรุนแรง (severe elevated blood pressure) ที่ไม่มีภาวะ target organ
damage (TOD) โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีความดัน diastolic ตั้งแต่ 120-130 mmHg ผู้ป่วยเหล่านี้ควรใช้ยารับประทานในการรักษา
12
2.6 Nitrates, calcium-channel blockers and other vasodilators
2.6.1 Nitrates
1. Glyceryl trinitrate sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ hypertensive emergencies ในกรณีที่มี coronary ischemia
2. Isosorbide dinitrate tab, sublingual tab ก
3. Isosorbide mononitrate tab ก
2.6.2 Calcium-channel blockers
ยากลุ่มนี้ชนิดที่เป็น short-acting dihydropyridine (เช่น nifedipine immediate release) ไม่แนะนำให้ใช้
รักษา essential hypertension, hypertensive emergencies , hypertensive urgency และ angina pectoris
เนื่องจากมียาอื่นที่ปลอดภัยกว่า
1. Amlodipine besilate tab ก
2. Diltiazem hydrochloride slow release cap/tab
(เฉพาะ 120 mg) ไม่รวมชนิด
controlled release
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ ischemic heart disease (IHD)
3. Verapamil hydrochloride tab, SR tab (เฉพาะ 240 mg) ก
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ ischemic heart disease (IHD)
4. Diltiazem hydrochloride immediate release tab ข
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ ischemic heart disease (IHD) ไม่แนะนำให้ใช้ในการรักษา essential hypertension
5. Nimodipine tab, sterile sol ง
เงื่อนไข
ใช้โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยาและประสาทศัลยศาสตร์สำหรับป้องกันพยาธิสภาพของระบบ
ประสาทที่อาจดำเนินต่อไปจากการหดตัวของหลอดเลือด ภายหลังการเกิด subarachnoid hemorrhage
13
2.6.3 Other vasodilators
1. Sildenafil (as citrate) tab ง
เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับผู้ป่วยภาวะ pulmonary arterial hypertension (PAH) ที่เกิดจากโรคหัวใจแต่กำเนิด (CHD) ชนิด
systemic-to-pulmonary shunt หรือโรค idiopathic pulmonary arterial hypertension (IPAH) หรือ
PAH associated with connective tissue disease (CNTD) และ
2. อยู่ใน WHO functional classification of PAH ? II และ
3. ได้รับการตรวจวินิจฉัยตามขั้นตอนวิธีที่ปรากฏในแนวทางเวชปฏิบัติ
4. แนะนำให้หยุดยาเมื่อผลการประเมินทุก 3 เดือนมีอาการทรุดลงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน
เกณฑ์อาการทรุดลงหมายถึงการตรวจพบอย่างน้อย 2 ข้อต่อไปนี้คือ
4.1 ตรวจร่างกายมีอาการแสดงของ progressive right heart failure
4.2 WHO functional classification เพิ่มขึ้นกว่าเดิม
4.3 6MWT ลดลงกว่าเดิม 25%
4.4 Echocardiography พบลักษณะที่บ่งชี้ว่าอาการทรุดลงเช่น right atrium และ right ventricle โตขึ้น
กว่าเดิม, right ventricular systolic pressure (RVSP) สูงขึ้นกว่าเดิม, RV dysfunction, TAPSE < 1.5 cm, RAP > 15 mmHg, CI ? 2 L/min/m2, pericardial effusion
2.7 Sympathomimetics
2.7.1 Inotropic sympathomimetics
1. Dopamine hydrochloride sterile sol ก
2. Isoprenaline hydrochloride
(Isoproterenol hydrochloride)
sterile sol ก
3. Dobutamine hydrochloride sterile sol ข
2.7.2 Vasoconstrictor sympathomimetics
1. Norepinephrine (Noradrenaline) sterile sol (as bitartrate or
hydrochloride)
2. Ephedrine hydrochloride
วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท 2
sterile sol ค
2.7.3 Drugs used in cardiopulmonary resuscitation
1. Epinephrine (Adrenaline) sterile sol ก
14
2.8 Anticoagulants
1. Warfarin sodium tab ค
2. Heparin sodium sterile sol ค
3. Enoxaparin sodium sterile sol ง
เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับ unstable angina pectoris, deep vein thrombosis และ pulmonary embolism
2. ใช้สำหรับ venous stroke และ cardioembolic stroke
2.9 Antiplatelet drugs
1. Aspirin (Acetylsalicylic acid) tab (เฉพาะ 75-325 mg),
EC tab (เฉพาะ 75-325 mg)
2. Ticlopidine hydrochloride tab ง
เงื่อนไข
1. ใช้กับผู้ป่วยที่มีข้อห้ามใช้หรือแพ้ aspirin
2. ให้ระยะสั้นในการสอดฝังขดลวดค้ำยันผนังหลอดเลือด (stent)
3. ใช้ในกรณีที่ใช้ aspirin แล้วยังมี recurrent thrombotic events
4. ใช้ในกรณีพิเศษ เช่น atrial fibrillation หรือ antiphospholipid syndrome ซึ่งยังอาจไม่จำเป็นต้องใช้หรือไม่
สามารถใช้ anticoagulant ได้
5. ใช้กับผู้ป่วยที่มี multiple thrombotic risk factors ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ในระยะสั้น
6. การใช้ clopidogrel และ ticlopidine ร่วมกับ aspirin นอกเหนือจากกรณีที่ 2 ไม่ช่วยเพิ่มประสิทธิผลแต่เพิ่ม
ผลข้างเคียงของภาวะเลือดออก
7. อาจทำให้เกิด neutropenia การสั่งใช้ต้องติดตามระดับเม็ดเลือดขาวทุก 2 สัปดาห์ติดต่อกันใน 3 เดือนแรก
จากนั้นควรติดตามเป็นระยะร่วมกับการตรวจการทำงานของตับ
3. Clopidogrel bisulfate tab ง
เงื่อนไข
1. ใช้กับผู้ป่วยที่มีข้อห้ามใช้หรือแพ้ aspirin
2. ให้ระยะสั้นในการสอดฝังขดลวดค้ำยันผนังหลอดเลือด (stent)
3. ใช้ในกรณีที่ใช้aspirin แล้วยังมี recurrent thrombotic events
4. ใช้ในกรณีพิเศษ เช่น atrial fibrillation หรือ antiphospholipid syndrome ซึ่งยังอาจไม่จำเป็นต้องใช้หรือไม่
สามารถใช้ anticoagulant ได้
5. ใช้กับผู้ป่วยที่มี multiple thrombotic risk factors ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ในระยะสั้น
6. การใช้ clopidogrel และ ticlopidine ร่วมกับ aspirin นอกเหนือจากกรณีที่ 2 ไม่ช่วยเพิ่มประสิทธิผลแต่เพิ่ม
ผลข้างเคียงของภาวะเลือดออก
4. Dipyridamole sterile sol ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับการตรวจวินิจฉัยเท่านั้น
15
5. Eptifibatide sterile sol ง
เงื่อนไข
ใช้ร่วมกับการรักษาด้วยสายสวนขยายหลอดเลือดหัวใจเท่านั้น
2.10 Fibrinolytic drugs
1. Streptokinase sterile pwdr ก
2. Alteplase (Recombinant tissue - type plasminogen
activator)
sterile pwdr ง
เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับ myocardial ischemia หรือภาวะหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน ในกรณีที่ผู้ป่วยแพ้
streptokinase หรือเคยได้รับ streptokinase ภายใน 1 ปี
2. ใช้สำหรับ acute arterial ischemic stroke โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาท
3. ใช้สำหรับ massive pulmonary embolism ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด massive bleeding และมี
hemodynamic instability
4. ใช้ในกรณีที่มี acute vascular access thrombosis (หมายถึง A-V fistula หรือ A-V graft สำหรับทำ
hemodialysis)
2.11 Hemostatics
1. Tranexamic acid sterile sol ก
คำเตือนและข้อควรระวัง
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุและมีภาวะเลือดออกรุนแรง การให้ยาภายใน 3 ชั่วโมงจึงจะมีประสิทธิผลใน
การลดอัตราการเสียชีวิต แต่การให้ยาหลังจาก 3 ชั่วโมงอาจเพิ่มอัตราการเสียชีวิตจากภาวะเลือดออก
หมายเหตุ
การใช้ tranexamic acid ไม่สามารถทดแทนการรักษาที่จำเป็นอื่นๆ ได้ (เช่น การให้เลือด เป็นต้น)
2. Human thrombin + Calcium chloride
+ Fibrinogen +Tranexamic acid
sterile sol ง
เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับภาวะเลือดออกจากอุบัติเหตุ การถอนฟัน การผ่าตัดผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกแล้วหยุดยาก
เช่น hemophilia, thrombocytopenia, platelet dysfunction, von Willebrand's disease และ
congenital factor VII deficiency เป็นต้น
2. ใช้กับผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดซึ่งไม่สามารถห้ามเลือดด้วยวิธีปกติได้ เช่น การผ่าตัดตับ การผ่าตัดหัวใจ
การผ่าตัดปอด เป็นต้น
16
3. Factor VIII concentrate, dried sterile preparation for
intravenous use
จ(1)
เงื่อนไข
ใช้สำหรับโครงการศึกษาของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่ชื่อว่า “โครงการพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการ การดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย ในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า” เท่านั้น
4. Factor IX concentrate, dried sterile preparation for
intravenous use
จ(1)
เงื่อนไข
เช่นเดียวกับ Factor VIII concentrate, dried
5. Factor IX complex (Coagulation factors II, VII, IX, X)
concentrate, dried
sterile preparation for
intravenous use
จ(1)
เงื่อนไข
เช่นเดียวกับ Factor VIII concentrate, dried
2.12 Lipid-regulating drugs
1. Gemfibrozil cap (เฉพาะ 300, 600 mg),
tab (เฉพาะ 600 mg)
2. Nicotinic acid immediate release tab ก
3. Simvastatin tab (เฉพาะ 10, 20 และ 40
mg)
4. Colestyramine (Cholestyramine) oral pwdr ข
5. Fenofibrate cap (เฉพาะ 100, 200
และ 300 mg)
17
6. Atorvastatin tab (เฉพาะ 40 mg) ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติดังต่อไปนี้
1. ใช้ยา simvastatin แล้วมีผลข้างเคียง หรือ
2. ใช้ในกรณีที่ไม่สามารถลดค่า LDL cholesterol (LDL-C) ได้ถึงเป้าหมาย เมื่อใช้ยา simvastatin ขนาด 40
mg ติดต่อกัน 6 เดือน หรือใช้ยา simvastatin ขนาด 10 mg ร่วมกับยา amiodarone verapamil diltiazem
หรือ gemfibrozil ติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้
ทั้งนี้เป้าหมาย LDL-C ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ ดังนี้
1) กรณี Primary prevention
LDL-C เป้าหมาย <130 -="-" -biotin="-biotin" -line="-line" .="." 0.3="0.3" 0.4="0.4" 0.5="0.5" 0.9="0.9" 1.0="1.0" 1.1="1.1" 1.2="1.2" 1.5="1.5" 1.8="1.8" 1.="1." 10-100="10-100" 10.="10." 1000="1000" 100="100" 10="10" 11.="11." 11="11" 12.="12." 12="12" 13.="13." 14.="14." 15.="15." 150="150" 15="15" 16.="16." 16="16" 17.="17." 18.="18." 180="180" 18="18" 19="19" 1="1" 2.1="2.1" 2.2="2.2" 2.5="2.5" 2.="2." 2000="2000" 200="200" 20="20" 21="21" 22="22" 23="23" 24="24" 250="250" 25="25" 26="26" 275="275" 27="27" 28="28" 29="29" 2="2" 3.1.1="3.1.1" 3.1.2="3.1.2" 3.1.3="3.1.3" 3.1="3.1" 3.2="3.2" 3.3="3.3" 3.4="3.4" 3.5="3.5" 3.6.1="3.6.1" 3.6.2="3.6.2" 3.6="3.6" 3.75="3.75" 3.7="3.7" 3.8="3.8" 3.="3." 300-1000="300-1000" 3000="3000" 300="300" 30="30" 31="31" 32="32" 33="33" 34="34" 35-45="35-45" 35="35" 36="36" 37="37" 38="38" 39="39" 3="3" 4.10.1="4.10.1" 4.10.2="4.10.2" 4.10.3="4.10.3" 4.10="4.10" 4.1="4.1" 4.2.1="4.2.1" 4.2.2="4.2.2" 4.2="4.2" 4.3="4.3" 4.4="4.4" 4.5.1="4.5.1" 4.5.2="4.5.2" 4.5="4.5" 4.6="4.6" 4.7.1="4.7.1" 4.7.2="4.7.2" 4.7.3.1="4.7.3.1" 4.7.3.2="4.7.3.2" 4.7.3="4.7.3" 4.7="4.7" 4.8.1="4.8.1" 4.8.2="4.8.2" 4.8="4.8" 4.9="4.9" 4.="4." 4000="4000" 400="400" 40="40" 41="41" 42="42" 43="43" 44="44" 45="45" 46="46" 47="47" 48="48" 49="49" 4="4" 5-fu="5-fu" 5.1.10="5.1.10" 5.1.1="5.1.1" 5.1.2="5.1.2" 5.1.3="5.1.3" 5.1.4="5.1.4" 5.1.5="5.1.5" 5.1.6="5.1.6" 5.1.7="5.1.7" 5.1.8="5.1.8" 5.1.9="5.1.9" 5.1="5.1" 5.2="5.2" 5.3.1="5.3.1" 5.3.2="5.3.2" 5.3="5.3" 5.4.1="5.4.1" 5.4.2="5.4.2" 5.4="5.4" 5.5="5.5" 5.6="5.6" 5.="5." 5000="5000" 500="500" 50="50" 51="51" 52="52" 53="53" 54="54" 55="55" 56="56" 57="57" 58="58" 59="59" 5="5" 6.1.1="6.1.1" 6.1.2="6.1.2" 6.1.3="6.1.3" 6.1="6.1" 6.2.1="6.2.1" 6.2.2="6.2.2" 6.2="6.2" 6.3="6.3" 6.4.1="6.4.1" 6.4.2="6.4.2" 6.4="6.4" 6.5.1="6.5.1" 6.5.2="6.5.2" 6.5="6.5" 6.6="6.6" 6.7.1="6.7.1" 6.7.2="6.7.2" 6.7="6.7" 6.="6." 600="600" 60="60" 61="61" 62="62" 63="63" 64="64" 65="65" 6="6" 7.1.1="7.1.1" 7.1.2="7.1.2" 7.1="7.1" 7.2="7.2" 7.3="7.3" 7.4.1="7.4.1" 7.4.2="7.4.2" 7.4.3="7.4.3" 7.4="7.4" 7.="7." 70="70" 750="750" 75="75" 7="7" 8.1.1="8.1.1" 8.1.2="8.1.2" 8.1.3="8.1.3" 8.1.4="8.1.4" 8.1.5="8.1.5" 8.1="8.1" 8.2="8.2" 8.3.1="8.3.1" 8.3.2="8.3.2" 8.3="8.3" 8.="8." 80="80" 875="875" 8="8" 9.1.1="9.1.1" 9.1.2="9.1.2" 9.1.3="9.1.3" 9.1="9.1" 9.2="9.2" 9.3="9.3" 9.4="9.4" 9.="9." 90="90" 9="9" a="a" aac="aac" abdominal="abdominal" acarbose="acarbose" acetaldehyde="acetaldehyde" acetate="acetate" aciclovir="aciclovir" acid="acid" acillus="acillus" acinetobacter="acinetobacter" acquired="acquired" acromegaly="acromegaly" acute="acute" adjuvant="adjuvant" adrenoceptor="adrenoceptor" adrenocortical="adrenocortical" advanced="advanced" aerobes="aerobes" aeruginosa="aeruginosa" affecting="affecting" agent="agent" agonists="agonists" aids-related="aids-related" albendazole="albendazole" alcohol="alcohol" alfa="alfa" alfacalcidol="alfacalcidol" alfuzosin="alfuzosin" alkalinisation="alkalinisation" alkaloids="alkaloids" alkylating="alkylating" all-trans-retinoic="all-trans-retinoic" allogeneic="allogeneic" allograft="allograft" alpha-hydroxyvitamin="alpha-hydroxyvitamin" alpha="alpha" alprazolam="alprazolam" alprostadil="alprostadil" alt="alt" alternative="alternative" ambulatory="ambulatory" amebiasis="amebiasis" amenorrhea="amenorrhea" amikacin="amikacin" amino="amino" aminoglycoside="aminoglycoside" aminoglycosides="aminoglycosides" aminophylline="aminophylline" amitriptyline="amitriptyline" ammonia="ammonia" ammonium="ammonium" amoxicillin="amoxicillin" amphotericin="amphotericin" ampicillin="ampicillin" anaerobe="anaerobe" anaerobes="anaerobes" anal="anal" analgesics="analgesics" analog="analog" anaphylaxis="anaphylaxis" and="and" anemia="anemia" anemias="anemias" aneurysm="aneurysm" antagonists="antagonists" anterior="anterior" anthelmintics="anthelmintics" anthracycline="anthracycline" anti-estrogens="anti-estrogens" antibacterial="antibacterial" antibacterials="antibacterials" antibiotics="antibiotics" antidepressant="antidepressant" antidiabetic="antidiabetic" antiepileptics="antiepileptics" antifungal="antifungal" antihistamines="antihistamines" antileprotic="antileprotic" antimalarials="antimalarials" antimanic="antimanic" antimetabolites="antimetabolites" antimigraine="antimigraine" antimuscarinic="antimuscarinic" antineoplastic="antineoplastic" antiprotozoal="antiprotozoal" antipsychotic="antipsychotic" antipyretics="antipyretics" antiretrovirals="antiretrovirals" antiseptics="antiseptics" antithymocyte="antithymocyte" antithyroid="antithyroid" antituberculosis="antituberculosis" antituberculous="antituberculous" antiviral="antiviral" anxiolytics="anxiolytics" aortic="aortic" apamycin="apamycin" aplastic="aplastic" aqueous="aqueous" arginine="arginine" aromatic="aromatic" arteriosus="arteriosus" artesunate="artesunate" as="as" asparaginase="asparaginase" aspart="aspart" aspirin="aspirin" associated="associated" atazanavir="atazanavir" atenolol="atenolol" atherosclerosis="atherosclerosis" attack="attack" attention-deficit="attention-deficit" atypical="atypical" augmented="augmented" aureus="aureus" autoimmune="autoimmune" autologous="autologous" avium="avium" axetil="axetil" azathioprine="azathioprine" azithromycin="azithromycin" b12="b12" b1="b1" b2="b2" b6="b6" b="b" baclofen="baclofen" bacterial="bacterial" bag="bag" barr="barr" base="base" basic="basic" basiliximab="basiliximab" bcg="bcg" beclometasone="beclometasone" benign="benign" benserazide="benserazide" benzathine="benzathine" benzoate="benzoate" benzylpenicillin="benzylpenicillin" beractant="beractant" beta-lactam="beta-lactam" beta-lactamase="beta-lactamase" beta-lactams="beta-lactams" beta="beta" betahistine="betahistine" bicarbonate="bicarbonate" bilateral="bilateral" biphasic="biphasic" bipolar="bipolar" bladder="bladder" bleomycin="bleomycin" blood="blood" body="body" bone="bone" botulinum="botulinum" branch="branch" branched="branched" breast="breast" bromide="bromide" bromocriptine="bromocriptine" brompheniramine="brompheniramine" bronchodilators="bronchodilators" budesonide="budesonide" buprenorphine="buprenorphine" busulfan="busulfan" c="c" caffeine="caffeine" calcitonin-salmon="calcitonin-salmon" calcium="calcium" calmette-gu="calmette-gu" canal="canal" cancer="cancer" candidiasis="candidiasis" cap="cap" capecitabine="capecitabine" caproate="caproate" carbamazepine="carbamazepine" carbapenems="carbapenems" carbidopa="carbidopa" carbonate="carbonate" carboplatin="carboplatin" cardiomyopathy="cardiomyopathy" catarrhalis="catarrhalis" cefalexin="cefalexin" cefazolin="cefazolin" cefixime="cefixime" cefoperazone="cefoperazone" cefotaxime="cefotaxime" cefoxitin="cefoxitin" ceftazidime="ceftazidime" ceftriaxone="ceftriaxone" cefuroxime="cefuroxime" cell="cell" central="central" cephalexin="cephalexin" cephalosporin="cephalosporin" cephalosporins="cephalosporins" cephamycins="cephamycins" cervical="cervical" cessation="cessation" cetaminophen="cetaminophen" cetirizine="cetirizine" cetylsalicylic="cetylsalicylic" chain="chain" change="change" chemo="chemo" chewable="chewable" chloral="chloral" chlorambucil="chlorambucil" chloramphenicol="chloramphenicol" chlordiazepoxide="chlordiazepoxide" chlorhexidine="chlorhexidine" chloride="chloride" chloroquine="chloroquine" chlorpheniramine="chlorpheniramine" chlorpromazine="chlorpromazine" chlorpropamide="chlorpropamide" chorionic="chorionic" chromosome="chromosome" chronic="chronic" chrorionic="chrorionic" ciclosporin="ciclosporin" ciclovir="ciclovir" cilastatin="cilastatin" ciprofloxacin="ciprofloxacin" cirrhosis="cirrhosis" cisplatin="cisplatin" citrate="citrate" citric="citric" clarithromycin="clarithromycin" clavulanate="clavulanate" clindamycin="clindamycin" clofazimine="clofazimine" clomipramine="clomipramine" clonazepam="clonazepam" clonidine="clonidine" clorazepate="clorazepate" clotrimazole="clotrimazole" cloxacillin="cloxacillin" clozapine="clozapine" cm="cm" co-amoxiclav="co-amoxiclav" co-trimoxazole="co-trimoxazole" coated="coated" codeine="codeine" cold="cold" coli="coli" colistimethate="colistimethate" colistinmethanesulphonate="colistinmethanesulphonate" colitis="colitis" colon="colon" colorectal="colorectal" combined="combined" common="common" community-acquired="community-acquired" community="community" compensated="compensated" complex="complex" complicated="complicated" compound="compound" compressed="compressed" concentrate="concentrate" conditions="conditions" conjugated="conjugated" continuous="continuous" contraceptive="contraceptive" contraceptives="contraceptives" control="control" conventional="conventional" copies="copies" corticosteroids="corticosteroids" cough="cough" cr="cr" cream="cream" crisis="crisis" cryoprecipitate="cryoprecipitate" cryptococcosis="cryptococcosis" ct-scan="ct-scan" cycling="cycling" cyclophosphamide="cyclophosphamide" cycloserine="cycloserine" cyclovir="cyclovir" cyproheptadine="cyproheptadine" cyproterone="cyproterone" cysteine="cysteine" cytarabine="cytarabine" cytomegalovirus="cytomegalovirus" cytotoxic="cytotoxic" d2="d2" d3="d3" d4t="d4t" d="d" dactinomycin="dactinomycin" dapsone="dapsone" ddi="ddi" decanoate="decanoate" decompensated="decompensated" decongestants="decongestants" deferiprone="deferiprone" deferoxamine="deferoxamine" deficiency="deficiency" demulcent="demulcent" demyelinating="demyelinating" dependence="dependence" dependent="dependent" depleted="depleted" depression="depression" dermatomycoses="dermatomycoses" desmopressin="desmopressin" desogestrel="desogestrel" dexamethasone="dexamethasone" dextran="dextran" dextromethorphan="dextromethorphan" dextrose="dextrose" diabetes="diabetes" dialysis="dialysis" diazepam="diazepam" diazoxide="diazoxide" dicloxacillin="dicloxacillin" didanosine="didanosine" diethylcarbamazine="diethylcarbamazine" dihydrochloride="dihydrochloride" dimenhydrinate="dimenhydrinate" diphenhydramine="diphenhydramine" dipotassium="dipotassium" dipropionate="dipropionate" disease="disease" diseases="diseases" disodium="disodium" disoproxil="disoproxil" disorder="disorder" disorders="disorders" dispersible="dispersible" disulfiram="disulfiram" dl="dl" dna="dna" docetaxel="docetaxel" domperidone="domperidone" donor="donor" dopaminergic="dopaminergic" dose="dose" double="double" doxazosin="doxazosin" doxorubicin="doxorubicin" doxycycline="doxycycline" dpi="dpi" dried="dried" drop="drop" drug-induced="drug-induced" drug="drug" drugs="drugs" dry="dry" ductus="ductus" dystonia="dystonia" e.="e." e="e" early="early" ec="ec" efavirenz="efavirenz" ejection="ejection" electrolytes="electrolytes" elixir="elixir" embolization="embolization" embonate="embonate" empiric="empiric" emulsifier="emulsifier" emulsion="emulsion" enantate="enantate" enanthate="enanthate" encephalitis="encephalitis" end="end" endocrine="endocrine" enicillin="enicillin" entacapone="entacapone" entamidine="entamidine" enuresis="enuresis" enzyme="enzyme" ephalexin="ephalexin" epidermidis="epidermidis" epilepsy="epilepsy" epilepticus="epilepticus" epoetin="epoetin" ergotamine="ergotamine" erythromycin="erythromycin" esferrioxamine="esferrioxamine" essential="essential" estolate="estolate" estosterone="estosterone" estradiol="estradiol" estrogens="estrogens" etahistine="etahistine" ethambutol="ethambutol" ethimazole="ethimazole" ethinylestradiol="ethinylestradiol" ethionamide="ethionamide" ethyl="ethyl" etoposide="etoposide" eutral="eutral" exacerbation="exacerbation" expectorant="expectorant" failure="failure" fatty="fatty" febrile="febrile" female="female" fenoterol="fenoterol" fentanyl="fentanyl" filgrastim="filgrastim" film="film" finasteride="finasteride" first-line="first-line" first="first" fluconazole="fluconazole" fludrocortisone="fludrocortisone" fluids="fluids" fluorouracil="fluorouracil" fluoxetine="fluoxetine" flupentixol="flupentixol" fluphenazine="fluphenazine" flutamide="flutamide" fluticasone="fluticasone" focal="focal" folic="folic" for="for" formoterol="formoterol" formulations="formulations" fosfomycin="fosfomycin" fraction="fraction" fracture="fracture" freeze-dried="freeze-dried" frequency="frequency" fresh="fresh" freshly="freshly" frozen="frozen" fumarate="fumarate" fungal="fungal" fusidate="fusidate" g="g" gabapentin="gabapentin" galactorrhea="galactorrhea" ganciclovir="ganciclovir" gastrointestinal="gastrointestinal" gel="gel" gemcitabine="gemcitabine" generation="generation" genito-urinary="genito-urinary" gentamicin="gentamicin" gentian="gentian" germ="germ" gestodene="gestodene" giardiasis="giardiasis" glibenclamide="glibenclamide" glipizide="glipizide" glomerulonephritis="glomerulonephritis" glomerulosclerosis="glomerulosclerosis" gluconate="gluconate" glucose="glucose" glyceryl="glyceryl" glycyrrhiza="glycyrrhiza" gonadotrophin="gonadotrophin" gonadotrophins="gonadotrophins" gonococcus="gonococcus" gram-negative="gram-negative" gravis="gravis" griseofulvin="griseofulvin" growers="growers" guaiacolate="guaiacolate" guillain="guillain" gum="gum" gynaecology="gynaecology" h.="h." haloperidol="haloperidol" hartmann="hartmann" hbeag="hbeag" hbsag="hbsag" hbv="hbv" hcg="hcg" hdl-c="hdl-c" hemifacial="hemifacial" hemihydrate="hemihydrate" hemisuccinate="hemisuccinate" hemolytic="hemolytic" hemophagocytic="hemophagocytic" hemorrhage="hemorrhage" henobarbitone="henobarbitone" hepatitis="hepatitis" heroin="heroin" herpes="herpes" herpetic="herpetic" hiamine="hiamine" high="high" hioguanine="hioguanine" hirsutism="hirsutism" histidine="histidine" histology="histology" hiv="hiv" hlorphenamine="hlorphenamine" hohl="hohl" hormone="hormone" hormones="hormones" hosp="hosp" hospital-aquired="hospital-aquired" human="human" hyclate="hyclate" hydrate="hydrate" hydrobromide="hydrobromide" hydrochloride="hydrochloride" hydrocortisone="hydrocortisone" hydrogen="hydrogen" hydroxocobalamin="hydroxocobalamin" hydroxycarbamide="hydroxycarbamide" hydroxyprogesterone="hydroxyprogesterone" hydroxyzine="hydroxyzine" hyperactivity="hyperactivity" hypercalcemia="hypercalcemia" hyperglycemia="hyperglycemia" hyperinsulinemic="hyperinsulinemic" hyperparathyroidism="hyperparathyroidism" hyperplasia="hyperplasia" hypertrophy="hypertrophy" hypnotics="hypnotics" hypoglycemia="hypoglycemia" hypoplastic="hypoplastic" hypothalamic="hypothalamic" hytomenadione="hytomenadione" i="i" ibuprofen="ibuprofen" idarubicin="idarubicin" idiopathic="idiopathic" ifosfamide="ifosfamide" imatinib="imatinib" imipenem="imipenem" imipramine="imipramine" immediate="immediate" immune="immune" immunodeficiency="immunodeficiency" immunoglobulin="immunoglobulin" immunosuppression="immunosuppression" in="in" incontinence="incontinence" indinavir="indinavir" indomethacin="indomethacin" inducer="inducer" induction="induction" infancy="infancy" infantile="infantile" infants="infants" infection="infection" infections="infections" influenzae="influenzae" infusion="infusion" inger-lactate="inger-lactate" inhibitors="inhibitors" initial="initial" inj="inj" injection="injection" insipidus="insipidus" instillation="instillation" insufficiency="insufficiency" insulin="insulin" insulinoma="insulinoma" insulins="insulins" intermittent="intermittent" intra-abdominal="intra-abdominal" intratracheal="intratracheal" intravenous="intravenous" invasive="invasive" iodide="iodide" iodine="iodine" ipratropium="ipratropium" iron="iron" irradiated="irradiated" isethionate="isethionate" isetionate="isetionate" isoleucine="isoleucine" isoniazid="isoniazid" isophane="isophane" itraconazole="itraconazole" iu="iu" ivermectin="ivermectin" jirovecii="jirovecii" k1="k1" kanamycin="kanamycin" kaposi="kaposi" kawasaki="kawasaki" kernicterus="kernicterus" ketoconazole="ketoconazole" kidney="kidney" lactab="lactab" lactate="lactate" lamivudine="lamivudine" lamotrigine="lamotrigine" ldl-c="ldl-c" left="left" lenograstim="lenograstim" lesion="lesion" letrozole="letrozole" leucine="leucine" leucovorin="leucovorin" leukemia="leukemia" leukocyte="leukocyte" leukotriene="leukotriene" leuprorelin="leuprorelin" levetiracetam="levetiracetam" levodopa="levodopa" levofloxacin="levofloxacin" levonorgestrel="levonorgestrel" levothyroxine="levothyroxine" lincomycin="lincomycin" line="line" liothyronine="liothyronine" liposomal="liposomal" lispro="lispro" lithium="lithium" liver="liver" lopinavir="lopinavir" loratadine="loratadine" lorazepam="lorazepam" lower="lower" lugol="lugol" lung="lung" lupenthixol="lupenthixol" lymphocytic="lymphocytic" lymphohistiocytosis="lymphohistiocytosis" lymphoma="lymphoma" lynestrenol="lynestrenol" lyophilized="lyophilized" lysine="lysine" m.="m." m3="m3" macrolide="macrolide" macrolides="macrolides" magnesium="magnesium" maintenance="maintenance" male="male" maleate="maleate" malignant="malignant" marneffei="marneffei" marrow="marrow" mcg="mcg" mdi="mdi" mdr="mdr" mebendazole="mebendazole" medroxyprogesterone="medroxyprogesterone" mefloquine="mefloquine" megestrol="megestrol" melioidosis="melioidosis" melphalan="melphalan" membranous="membranous" meningitis="meningitis" mercaptopurine="mercaptopurine" meropenem="meropenem" mesilate="mesilate" mesylate="mesylate" metabolism="metabolism" metformin="metformin" methadone="methadone" methicillin="methicillin" methionine="methionine" methotrexate="methotrexate" methylergometrine="methylergometrine" methylphenidate="methylphenidate" methylprednisolone="methylprednisolone" metoclopramide="metoclopramide" metronidazole="metronidazole" mg="mg" mianserin="mianserin" microemulsion="microemulsion" midazolam="midazolam" migraine="migraine" mineral="mineral" mininal="mininal" mist.="mist." mitomycin="mitomycin" mitoxantrone="mitoxantrone" mixt="mixt" mixture="mixture" ml="ml" moderate="moderate" mofetil="mofetil" monohydrate="monohydrate" mononitrate="mononitrate" monotherapy="monotherapy" montelukast="montelukast" mood="mood" morphine="morphine" mortality="mortality" movement="movement" mucolytics="mucolytics" multidrug-resistant="multidrug-resistant" multiple-drug-resistant="multiple-drug-resistant" multiple="multiple" multivitamins="multivitamins" murine="murine" myasthenia="myasthenia" myasthenic="myasthenic" mycobacterium="mycobacterium" mycophenolate="mycophenolate" myelogenous="myelogenous" myeloid="myeloid" myeloma="myeloma" myometrial="myometrial" nalbuphine="nalbuphine" nasal="nasal" nausea="nausea" nebulizer="nebulizer" negative="negative" nelfinavir="nelfinavir" neomycin="neomycin" neonatal="neonatal" nervous="nervous" nesidioblastosis="nesidioblastosis" netilmicin="netilmicin" neuroblastoma="neuroblastoma" neuropathic="neuropathic" neuropathy="neuropathy" neuropsychiatric="neuropsychiatric" neutropenia="neutropenia" nevirapine="nevirapine" ng="ng" niacinamide="niacinamide" niclosamide="niclosamide" nitrazepam="nitrazepam" nitrofurantoin="nitrofurantoin" nocturnal="nocturnal" node="node" non-antiretrovirals="non-antiretrovirals" non-hodgkin="non-hodgkin" non-lymphocytic="non-lymphocytic" non-small="non-small" non-tuberculosis="non-tuberculosis" non-tuberculous="non-tuberculous" norethisterone="norethisterone" norfloxacin="norfloxacin" normal="normal" nortriptyline="nortriptyline" nosocomial="nosocomial" nsaids="nsaids" nsulin="nsulin" nucleoside="nucleoside" nutrition="nutrition" nystatin="nystatin" o-amoxiclav="o-amoxiclav" o-beneldopa="o-beneldopa" o-careldopa="o-careldopa" o-trimoxazole="o-trimoxazole" obstetrics="obstetrics" odine="odine" odium="odium" of="of" ofloxacin="ofloxacin" oily="oily" oluble="oluble" ondansetron="ondansetron" ophthalmitis="ophthalmitis" opioid="opioid" opium="opium" or="or" oral="oral" orchiectomy="orchiectomy" oseltamivir="oseltamivir" osteoarthritis="osteoarthritis" osteolytic="osteolytic" osteoporosis="osteoporosis" osyntropin="osyntropin" other="other" ovarian="ovarian" overall="overall" oxybutynin="oxybutynin" oxycycline="oxycycline" oxymetholone="oxymetholone" oxytocics="oxytocics" oxytocin="oxytocin" p.="p." packed="packed" paclitaxel="paclitaxel" pain="pain" paint="paint" pamidronate="pamidronate" pamoate="pamoate" pancreatic="pancreatic" pantothenic="pantothenic" para-aminosalicylic="para-aminosalicylic" paracetamol="paracetamol" partial="partial" patent="patent" pathogen="pathogen" pemphigus="pemphigus" penicillin="penicillin" penicillins="penicillins" penicillosis="penicillosis" pentamidine="pentamidine" peripheral="peripheral" peritoneal="peritoneal" permanganate="permanganate" peroxide="peroxide" perphenazine="perphenazine" persistent="persistent" pethidine="pethidine" phase="phase" phenobarbital="phenobarbital" phenoxymethylpenicillin="phenoxymethylpenicillin" phenylalanine="phenylalanine" phenytoin="phenytoin" phosphate="phosphate" phospholipids="phospholipids" pimozide="pimozide" pioglitazone="pioglitazone" piperacillin="piperacillin" piribedil="piribedil" pituitary="pituitary" placebo="placebo" plain="plain" plasma="plasma" platelets="platelets" pml="pml" pneumocystis="pneumocystis" pneumonia="pneumonia" pneumoniae="pneumoniae" polysorbate="polysorbate" polystyrene="polystyrene" pooled="pooled" poor="poor" poractant="poractant" positive="positive" post-partum="post-partum" post-traumatic="post-traumatic" posterior="posterior" postprandial="postprandial" potassium="potassium" potency="potency" povidone-iodine="povidone-iodine" praziquantel="praziquantel" precocious="precocious" prednisolone="prednisolone" preparations="preparations" prepared="prepared" prevention="prevention" primaquine="primaquine" primary="primary" procaine="procaine" procaterol="procaterol" products="products" progenitor="progenitor" progestogens="progestogens" prolactinoma="prolactinoma" promyelocytic="promyelocytic" prophylaxis="prophylaxis" propranolol="propranolol" propylthiouracil="propylthiouracil" prostaglandins="prostaglandins" prostate="prostate" prostatic="prostatic" protamine="protamine" psa="psa" pseudoephedrine="pseudoephedrine" pseudomonas="pseudomonas" psychoses="psychoses" puberty="puberty" pulmonary="pulmonary" pulse="pulse" purpura="purpura" pwdr="pwdr" pylori="pylori" pyrantel="pyrantel" pyrazinamide="pyrazinamide" pyrimethamine="pyrimethamine" quardruple="quardruple" queous="queous" quinine="quinine" quinolones="quinolones" rabbit="rabbit" random="random" rapid="rapid" receptor="receptor" rectocap="rectocap" recurrent="recurrent" red="red" refractory="refractory" rejection="rejection" relapse="relapse" related="related" relaxants="relaxants" release="release" renal="renal" repaglinide="repaglinide" replacement="replacement" rescue="rescue" resistant="resistant" respiratory="respiratory" response="response" reye="reye" rgocalciferol="rgocalciferol" rh-="rh-" rhinosinusitis="rhinosinusitis" rickettsiosis="rickettsiosis" rifampicin="rifampicin" rin="rin" risantapase="risantapase" risk="risk" risperidone="risperidone" ritonavir="ritonavir" routinely="routinely" rown="rown" roxithromycin="roxithromycin" s.="s." s.pneumoniae="s.pneumoniae" s="s" salbutamol="salbutamol" saline="saline" salmeterol="salmeterol" saquinavir="saquinavir" sarcoma="sarcoma" saturated="saturated" scan="scan" sclerosis="sclerosis" scrub="scrub" second-line="second-line" second="second" secondary="secondary" segmental="segmental" seizure="seizure" senega="senega" sensitive="sensitive" sequential="sequential" serious="serious" serology="serology" sertraline="sertraline" severe="severe" sex="sex" simplex="simplex" single="single" sirolimus="sirolimus" skin="skin" sle="sle" smoking="smoking" sodium="sodium" soft="soft" sol="sol" soluble="soluble" solution="solution" some="some" sp.="sp." spasm="spasm" spasms="spasms" specific="specific" spirit="spirit" spironolactone="spironolactone" spray="spray" squill="squill" sr="sr" stable="stable" stage="stage" staphylococcus="staphylococcus" status="status" stavudine="stavudine" stearate="stearate" sterile="sterile" stimulants="stimulants" streptococcus="streptococcus" streptomycin="streptomycin" stress="stress" stromal="stromal" strong="strong" sublingual="sublingual" subsequent="subsequent" substance="substance" succinate="succinate" sucrose="sucrose" sugar="sugar" sulbactam="sulbactam" sulfadiazine="sulfadiazine" sulfamethoxazole="sulfamethoxazole" sulfate="sulfate" sulfonamides="sulfonamides" sulfonate="sulfonate" sulfonylureas="sulfonylureas" sulphonamides="sulphonamides" sulprostone="sulprostone" superficial="superficial" suppressants="suppressants" surfactants="surfactants" survival="survival" susp="susp" switch="switch" syndrome="syndrome" syphilis="syphilis" syr="syr" syrup="syrup" system="system" systemic="systemic" t="t" tab="tab" tacrolimus="tacrolimus" tamoxifen="tamoxifen" tartrate="tartrate" taurine="taurine" taxane="taxane" tazobactam="tazobactam" tenofovir="tenofovir" terbutaline="terbutaline" test="test" testis="testis" testosterone="testosterone" tetracosactide="tetracosactide" tetracycline="tetracycline" tetracyclines="tetracyclines" the="the" theophylline="theophylline" therapeutic="therapeutic" therapy="therapy" thiamazole="thiamazole" thioridazine="thioridazine" third="third" threonine="threonine" thrombocytopenic="thrombocytopenic" thyroid="thyroid" thyroxine="thyroxine" tincture="tincture" tioguanine="tioguanine" tissue="tissue" to="to" topical="topical" topiramate="topiramate" total="total" toxin="toxin" toxoplasma="toxoplasma" toxoplasmosis="toxoplasmosis" tract="tract" tramadol="tramadol" transcatheter="transcatheter" transdermal="transdermal" transplantation="transplantation" trazodone="trazodone" treatment="treatment" tremor="tremor" tretinoin="tretinoin" trichomoniasis="trichomoniasis" trifluoperazine="trifluoperazine" trihexyphenidyl="trihexyphenidyl" trihydrate="trihydrate" trimethoprim="trimethoprim" triple="triple" trospium="trospium" tryptophan="tryptophan" tuberculosis="tuberculosis" tumor="tumor" tumors="tumors" tussis="tussis" type="type" typhus="typhus" tyrosine="tyrosine" ulcer="ulcer" ultiple-drug-="ultiple-drug-" uman="uman" undescended="undescended" units="units" urge="urge" urinary-tract="urinary-tract" urinary="urinary" urine="urine" urogenital="urogenital" urticaria="urticaria" used="used" v="v" vaginal="vaginal" valerate="valerate" valine="valine" valproate="valproate" vancomycin="vancomycin" varicella="varicella" vascular="vascular" vasculitis="vasculitis" ventricular="ventricular" vertigo="vertigo" vestibular="vestibular" vigabatrin="vigabatrin" vinblastine="vinblastine" vinca="vinca" vincristine="vincristine" violet="violet" vitamin="vitamin" vitamins="vitamins" vomiting="vomiting" vulgaris="vulgaris" vulval="vulval" water-miscible="water-miscible" water="water" whole="whole" wilms="wilms" with="with" withdrawal="withdrawal" without="without" x-ray="x-ray" yanocobalamin="yanocobalamin" yclosporin="yclosporin" ydroxyurea="ydroxyurea" yrantel="yrantel" yridoxine="yridoxine" zidovudine="zidovudine" zoster="zoster" zuclopenthixol="zuclopenthixol"> 60% ของ total amino acid
sterile sol ค
4. Amino acids with/without minerals sterile sol ค
5. Complete water-soluble and fat
soluble vitamins preparation
preparation for intravenous
use (sterile pwdr,sterile
sol,sterile emulsion)

Complete water-soluble and fat soluble vitamins preparation ที่ได้จากการผสม ตำรับที่มี Fat soluble
vitamins 4 ชนิด คือ A, D, E, K กับ ตำรับที่มี water soluble vitamins 9 ชนิด คือ B1, B2, B6 , B12,
niacinamide, folic acid , pantothenic acid , biotin และ Vitamin C
เงื่อนไข
ใช้กับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
6. Dextrose solution with minerals with
มี dextrose ไม่น้อยกว่า 20%
และมี mineral อย่างน้อย 2 ชนิด
sterile sol ค
เงื่อนไข
ยานี้มีความเข้มข้นของน้ำตาลสูงจึงห้ามให้ทาง peripheral vein ต้องให้ทาง central vein เท่านั้น
7. Fat emulsion sterile emulsion (เฉพาะ 20%) ค
Fat emulsion ประกอบด้วย long chain triglycerides และ phospholipids ซึ่งมีหรือไม่มีmedium
chain triglycerides (MCT)
8. Multiple trace minerals solution sterile sol ค
อย่างน้อยต้องประกอบด้วย Zn,Cu และ I
65
9.5 Minerals
1. Aluminium hydroxide tab, susp, susp (hosp) ก
2. Calcium carbonate cap, tab ก
3. Calcium gluconate sterile sol ก
4. Ferrous sulfate cap, tab, oral sol, drop ก
5. Iodine cap ก
คำเตือนและข้อควรระวัง
1. ควรใช้เฉพาะในพื้นที่ที่ขาดไอโอดีนสูงเท่านั้น
2. อาจทำให้เกิด iodine-induced thyrotoxicosis
6. Magnesium hydroxide tab, susp, susp (hosp) ก
7. Magnesium sulfate sterile sol, oral sol, oral
sol(hosp)

8. Sodium fluoride tab, oral sol, oral sol(hosp) ก
คำเตือนและข้อควรระวัง
ระวังการใช้ในพื้นที่ที่มีฟลูออไรด์สูง เพราะอาจทำให้เกิด fluorosis
9. Trace element solution
อย่างน้อยต้องประกอบด้วย Zn, Cu, I และ Cr
oral sol (hosp) ก
10. Zinc sulfate oral sol (hosp), cap, tab, sterile
sol (hosp)

11. Ferrous fumarate cap, tab, oral sol, susp ข
12. Copper sulfate solution sterile sol (hosp), oral sol (hosp) ค
13. Dipotassium hydrogen phosphate sterile sol ค
14. Oral acidic phosphate solution (Joulie's solution)
มีตัวยาสำคัญ คือ Potassium
phosphate และ/หรือ Sodium
phosphate monobasic/dibasic
oral sol (hosp) ค
15. Oral neutral phosphate solution
มีตัวยาสำคัญ คือ Potassium phosphate
และ/หรือ Sodium phosphate monobasic/
dibasic
oral sol (hosp) ค
66
9.6 Vitamins and minerals for pregnancy and lactating mothers
1. Ferrous fumarate tab (เฉพาะ 65 mg as iron) ก
คำเตือนและข้อควรระวัง
ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย
2. Ferrous sulfate tab (เฉพาะ 60 และ 65 mg as
iron)

คำเตือนและข้อควรระวัง
ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย
3. Folic acid tab (เฉพาะ 400 mcg และ 5
mg)

เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับเสริมโฟเลทตลอดการตั้งครรภ์
2. ใช้สำหรับเสริมโฟเลทในช่วง 6 เดือนแรกของการให้นมบุตร
3. กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่เคยมีประวัติตั้งครรภ์หรือคลอดบุตรที่มีภาวะ neural tube defect หรือปากแหว่ง
เพดานโหว่ ควรใช้ความแรง 5 mg
4. Potassium Iodide tab (เฉพาะ 150 mcg as
iodine)

เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับเสริมไอโอดีนตลอดการตั้งครรภ์
2. ใช้เสริมไอโอดีนในช่วง 6 เดือนแรกของการให้นมบุตร
3. ห้ามใช้ในผู้ที่มีภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
คำเตือนและข้อควรระวัง
ควรติดตามเฝ้าระวังภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
5. Ferrous salt + Folic acid tab (เฉพาะ 60 mg as iron +
400 mcg)

เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับเสริมธาตุเหล็กและโฟเลทตลอดการตั้งครรภ์
2. ใช้สำหรับเสริมธาตุเหล็กและโฟเลทในช่วง 6 เดือนแรกของการให้นมบุตร
คำเตือนและข้อควรระวัง
ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย
67
6. Ferrous salt + Folic acid + Potassium Iodide tab (เฉพาะ 60 mg as iron +
400 mcg + 150 mcg as
iodine)

เงื่อนไข
1. ใช้เสริมธาตุเหล็ก โฟเลท และไอโอดีนตลอดการตั้งครรภ์
2. ใช้สำหรับเสริมธาตุเหล็ก โฟเลท และไอโอดีนในช่วง 6 เดือนแรกของการให้นมบุตร
3. ห้ามใช้ในผู้ที่มีภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
คำเตือนและข้อควรระวัง
1. ควรติดตามเฝ้าระวังภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
2. ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย
68
กลุ่มยา 10 Musculoskeletal and joint diseases
10.1 Drugs used in rheumatic diseases and gout
10.1.1 Non-steroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs)
1. Aspirin (Acetylsalicylic acid) tab, EC tab ก
เงื่อนไข
ไม่ใช้สำหรับโรค gout
2. Diclofenac sodium EC tab, sterile sol ก
3. Ibuprofen film coated tab, susp ก
คำเตือนและข้อควรระวัง
1. เมื่อมีข้อบ่งชี้ให้ใช้ NSAIDs แนะนำให้ใช้ ibuprofen เป็นยาขนานแรกสำหรับบรรเทาอาการปวดทาง
ทันตกรรม ปวดประจำเดือน ปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ
2. ใช้ในเด็กที่มีอายุ 3 เดือนขึ้นไปเท่านั้น
3. ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีเกล็ดเลือดต่ำ เช่น ไข้เลือดออก
4. Indomethacin cap ก
5. Naproxen compressed tab (as base) ก
6. Piroxicam cap (as base),
compressed tab (as base),
film coated tab (as base)

10.1.2 Disease-modifying antirheumatic drugs (DMARDs)
1. Chloroquine phosphate compressed tab, film coated
tab

คำเตือนและข้อควรระวัง
การใช้ยาอาจเป็นพิษต่อจอประสาทตา ควรตรวจจอประสาทตาทุก 6 เดือน ระหว่างการใช้ยา
2. Hydroxychloroquine sulfate tab ข
คำเตือนและข้อควรระวัง
การใช้ยาอาจเป็นพิษต่อจอประสาทตา ควรตรวจจอประสาทตาทุก 6 เดือน ระหว่างการใช้ยา
3. Azathioprine tab ค
69
4. Methotrexate tab (as base or sodium),
sterile pwdr/sterile sol (as
sodium)

คำเตือนและข้อควรระวัง
การใช้ยาอาจเกิดการกดไขกระดูกและเป็นพิษต่อตับ ควรตรวจค่า CBC SGOT/SGPT และค่า alkaline
phosphatase ทุก 3-6 เดือน ระหว่างการใช้ยา
5. Penicillamine (D-Penicillamine)
ยากำพร้า
cap ค
6. Sulfasalazine EC tab ค
7. Sodium aurothiomalate sterile sol ค
8. Ciclosporin (Cyclosporin) cap, oral sol, sterile sol ง
เงื่อนไข
1. ใช้ในกรณีที่ใช้ยา methotrexate แล้วไม่ได้ผล หรือใช้ไม่ได้เนื่องจากแพ้
2. ผู้ป่วยมีการทำงานของไตเป็นปกติ และไม่มีภาวะความดันเลือดสูง
10.1.3 Drugs for treatment of gout and hyperuricaemia
1. Colchicine tab ก
2. Allopurinol tab ก
เงื่อนไข
ห้ามใช้รักษา acute gout
คำเตือนและข้อควรระวัง
ควรเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดร้ายแรงจากยา เช่น Steven-Johnson syndrome (SJS),
toxic epidermal necrolysis (TEN) และ drug rash with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS)
เนื่องจากมีรายงานการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงขึ้นได้แก่ ผู้ที่เริ่มใช้ยา
(ในช่วง 4 สัปดาห์แรก) ผู้ที่มีภาวะไตเสื่อม ผู้ที่ใช้ allopurinol ในขนาดสูง และผู้ที่ใช้ยาขับปัสสาวะในกลุ่ม
thiazide ร่วมด้วย
3. Probenecid film coated tab ก
เงื่อนไข
ห้ามใช้รักษา acute gout
4. Benzbromarone tab ค
เงื่อนไข
1. ห้ามใช้รักษา acute gout
2. ใช้ด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากมีรายงานการเกิด cytolytic liver damage ทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือต้อง
เปลี่ยนตับ
70
10.2 Drugs used in neuromuscular disorders
10.2.1 Drugs which enhance neuromuscular transmission
1. Pyridostigmine bromide tab ก
2. Neostigmine methylsulfate sterile sol ข
10.2.2 Skeletal muscle relaxants
1. ยากลุ่มนี้ใช้บรรเทาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อที่เป็นรุนแรงในโรคบางชนิด เช่น บาดทะยัก การบาดเจ็บของ
ไขสันหลัง และ multiple sclerosis
2. ไม่ใช้ยากลุ่มนี้กับอาการหดเกร็งกล้ามเนื้อจากการเล่นกีฬาหรือการบาดเจ็บ
3. ควรใช้ยากลุ่มนี้ด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากการลด muscle tone อาจเพิ่ม disability ให้กับผู้ป่วย
1. Diazepam cap, tab, sterile sol ก
2. Baclofen tab ข
3. Tizanidine hydrochloride tab ข
10.3 Drugs for relief of soft-tissue inflammation
10.3.1 Rubifacients
1. Methyl salicylate cream compound cream (hosp) ก
2. Methyl salicylate ointment compound
(Analgesic Balm)
oint (hosp) ก
71
กลุ่มยา 11 Eye
11.1 Anti-infective eye preparations
11.1.1 Antibacterials and eye wash solution
1. ใช้เป็นยาสำหรับการติดเชื้อแบคทีเรียเท่านั้น
2. ควรใช้ยาให้เหมาะสมกับชนิดของเชื้อ เช่น ชนิดกรัมบวก หรือกรัมลบ
1. Boric acid eye wash sol ก
2. Chloramphenicol eye drop, eye oint ก
3. Tetracycline hydrochloride eye oint ก
4. Gentamicin sulfate eye drop, eye oint ค
หมายเหตุ
ประสิทธิผลของ gentamicin ไม่แตกต่างจาก tobramycin
5. Polymyxin B sulfate + Neomycin sulfate +
Gramicidin
eye drop ค
หมายเหตุ
ยาที่มีส่วนผสมของ polymyxin B อาจส่งผลให้เกิดการดื้อของเชื้อในทาง systemic จึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง
เฉพาะกรณีที่มีความจำเป็นเท่านั้น
6. Fusidic acid eye drop (in gel base) ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ blepharitis ในกรณีที่ใช้ chloramphenicol หรือ gentamicin แล้ว แพ้หรือไม่ได้ผล
หมายเหตุ
ยาเปลี่ยนเป็นของเหลวเมื่อยาสัมผัสถูกตา
11.1.2 Antibacterials with corticosteroids
1. การใช้ยากลุ่มนี้ควรอยู่ในความดูแลของผู้เชี่ยวชาญ เพราะยามีที่ใช้จำกัด หากใช้ไม่ถูกต้องอาจไม่ปลอดภัย
2. ห้ามใช้ในอาการตาแดงที่ยังมิได้รับการตรวจวินิจฉัยสาเหตุที่ชัดเจน เพราะอาจเกิดอันตรายได้ เช่น การใช้ใน
อาการตาแดงที่เกิดจากเชื้อ herpes simplex virus อาจทำให้เกิดแผลที่กระจกตาไปจนถึงตาบอดได้ เป็นต้น
3. ใช้สำหรับการอักเสบรุนแรงในลูกตาส่วนหน้าหรือหลังผ่าตัด และป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียในกลุ่มเสี่ยง
1. Dexamethasone sodium phosphate +
Neomycin sulfate
eye drop ค
72
2. Dexamethasone sodium phosphate +
Chloramphenicol + Tetrahydrozoline
hydrochloride
eye drop ค
3. Dexamethasone + Neomycin sulfate +
Polymyxin B sulfate
eye oint ค
หมายเหตุ
ยาที่มีส่วนผสมของ polymyxin B อาจส่งผลให้เกิดการดื้อของเชื้อในทาง systemic จึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง
เฉพาะกรณีที่มีความจำเป็นเท่านั้น
11.1.3 Antifungals
1. Natamycin eye susp ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับการติดเชื้อราที่แผลกระจกตา
11.1.4 Antivirals
1. Aciclovir (Acyclovir) eye oint ค
11.2 Corticosteroids and other anti-inflammatory preparations
1. Antazoline hydrochloride + Tetrahydrozoline
hydrochloride
eye drop ก
2. Fluorometholone eye susp (as base) ค
เงื่อนไข
ใช้รักษาเยื่อบุตาอักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น ภูมิแพ้ การระคายเคือง เป็นต้น
หมายเหตุ
การใช้ยานี้ต้องระวังการติดเชื้อราที่กระจกตา การเกิด steroid glaucoma และการใช้ยาติดต่อกันเป็นเวลานาน
อาจทำให้เกิด steroid cataract
3. Prednisolone acetate eye susp ค
เงื่อนไข
1. ใช้รักษาม่านตาอักเสบและ/หรือหลังผ่าตัดตา
2. ใช้รักษากระจกตาอักเสบหลังจากการติดเชื้อไวรัสที่ชั้น stroma หรือชั้นเยื่อบุโพรงตา (endothelium)
หมายเหตุ
การใช้ยานี้ต้องระวังการติดเชื้อราที่กระจกตา การเกิด steroid glaucoma และการใช้ยาติดต่อกันเป็นเวลานาน
อาจทำให้เกิด steroid cataract
4. Sodium cromoglicate (Cromolyn sodium) eye drop ค
73
11.3 Mydriatics and cycloplegics
1. Atropine sulfate eye drop ค
2. Cyclopentolate hydrochloride eye drop ค
3. Phenylephrine hydrochloride eye drop ค
4. Tropicamide eye drop ค
11.4 Drugs for treatment of glaucoma
1. Glycerol oral sol (hosp) ก
2. Acetazolamide tab ก
3. Pilocarpine eye drop (as hydrochloride or
nitrate)

4. Timolol maleate eye drop ก
5. Betaxolol hydrochloride eye susp, eye sol ค
6. Brimonidine tartrate eye drop ค
เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับรักษาต้อหินกรณีที่ใช้ beta-blocker ไม่ได้ผล
2. ใช้เสริมเพื่อให้ได้ระดับความดันในลูกตาที่ปลอดภัย
7. Brinzolamide eye susp ค
8. Bimatoprost eye drop ง
เงื่อนไข
ใช้เฉพาะกรณีที่ใช้ยารักษาต้อหินชนิดอื่นแล้วความดันในลูกตายังไม่ลดลงอยู่ในขั้นที่ปลอดภัย
11.5 Local anesthetics
1. Tetracaine hydrochloride eye drop ก
เงื่อนไข
ห้ามให้ผู้ป่วยนำกลับบ้าน
11.6 Tear deficiency, ocular lubricants and astringents
1. Hypromellose (with preservative) eye drop ก
2. Carbomer (with preservative, with/
without sorbitol)
eye gel ข
74
3. White petrolatum + Mineral oil + Liquid
lanolin anhydrous (preservative free)
eye oint ค
เงื่อนไข
ใช้กับผู้ป่วยตาแห้งปานกลางถึงตาแห้งมาก ที่ใช้น้ำตาเทียมที่มี preservative ไม่ได้
4. Hypromellose + Dextran 70
(preservative free)
eye drop ง
เงื่อนไข
ใช้เฉพาะกับผู้ป่วยตาแห้งมาก ที่ใช้น้ำตาเทียมที่มี preservative ไม่ได้
5. Acetylcysteine (N-acetylcysteine) eye drop ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับละลาย mucus ของน้ำตาในผู้ป่วยโรคกระจกตาที่มี mucus ผิดปกติ
6. Dried protein-free dialysate of calf blood eye gel ง
เงื่อนไข
ใช้เพิ่มการสมานของแผลที่กระจกตา
11.7 Ocular diagnostic and peri-operative preparations and photodynamic
treatment
1. Balance salt sol for ocular irrigation , sol for
intraocular irrigation

2. Carbachol sterile sol for intraocular use ค
เงื่อนไข
ใช้หดม่านตาระหว่างการผ่าตัด
3. Diclofenac sodium with preservative eye drop ค
4. Fluorescein sodium sterile sol for inj ค
5. Sodium chondroitin sulfate + Sodium hyaluronate sterile sol for intraocular use ค
6. Sodium hyaluronate sterile sol for intraocular use ค
7. Verteporfin sterile pwdr for intravenous
infusion
จ(2)
เงื่อนไข
ใช้สำหรับโรคจุดภาพชัดจอประสาทตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปียกที่มีเส้นเลือดงอกใหม่ใต้รอยบุ๋มจอตาซึ่งส่วนใหญ่
เป็นแบบคลาสสิก (predominantly classic subfoveal choroidal neovascularization (CNV) due to agerelated
macular degeneration (wet form)) โดยมีแนวทางกำกับการใช้ยาเป็นไปตามรายละเอียดในภาคผนวก 3
75
กลุ่มยา 12 Ear, nose, oropharynx and oral cavity
12.1 Drugs acting on the ear
12.1.1 Otitis externa and otitis media
1. Chloramphenicol ear drop ก
2. Dexamethasone + Framycetin sulfate +
Gramicidin
ear drop/ear oint (เฉพาะ
0.5 mg+5 mg+ 0.05 mg in 1 ml or
1 g)

3. Hydrocortisone + Neomycin sulfate +
Polymyxin B sulfate
ear drop (เฉพาะ 10 mg + 3400 U+
10000 U in 1 ml)

12.1.2 Drugs used in otomycosis
1. Acetic acid ear drop (hosp) (เฉพาะ 2% in
aqueous และ 2% in 70%
Isopropyl alcohol)

คำเตือนและข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แก้วหูทะลุ
2. Boric acid ear drop (hosp) (เฉพาะ 3% in
Isopropyl alcohol)

คำเตือนและข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แก้วหูทะลุ
3. Gentian violet sol (hosp) ก
คำเตือนและข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แก้วหูทะลุ
4. Clotrimazole eye drop ข
76
12.1.3 Other drugs acting on the ear
1. Ofloxacin ear drop ค
เงื่อนไข
ใช้สำหรับหูน้ำหนวกเรื้อรังที่แก้วหูทะลุ ที่ใช้ Chloramphenicol ไม่ได้ผล
หมายเหตุ
ควรมี guideline ที่ชัดเจนกำกับการใช้ยานี้ เพราะการใช้ยาอาจส่งผลให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยากลุ่ม quinolones
2. Sodium bicarbonate ear drop (hosp) ก
12.2 Drugs acting on the nose
12.2.1 Drugs used in nasal allergy
1. Beclometasone dipropionate nasal spray ข
เงื่อนไข
ใช้กับผู้ป่วยอายุ 6 ปีขึ้นไป
2. Budesonide nasal spray ข
เงื่อนไข
ใช้กับผู้ป่วยอายุ 6 ปีขึ้นไป
3. Fluticasone propionate nasal spray ง
เงื่อนไข
ใช้กับผู้ป่วยอายุ 4 ขวบขึ้นไป
4. Triamcinolone acetonide nasal spray ง
เงื่อนไข
ใช้กับผู้ป่วยอายุ 2 ขวบขึ้นไป
12.2.2 Topical nasal decongestants
1. Ephedrine hydrochloride
วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท 2
nasal drop (hosp) (เฉพาะ 0.5-
3 %)

2. Sodium chloride sterile sol (for irrigation)
(เฉพาะ 0.9 %)

77
3. Oxymetazoline hydrochloride nasal drop, nasal spray ข
12.3 Drugs acting on the oropharynx and oral cavity
12.3.1 Drugs used in treatment of oral ulcer
1. Borax (in glycerin) sol, sol (hosp) ก
2. Chlorhexidine gluconate mouthwash sol / mouthwash
sol (hosp) (เฉพาะ 0.1-0.2% w/v)

3. Fluocinolone acetonide oral cream (hosp), oral gel
(hosp), sol (hosp)

4. Talbot’s solution sol (hosp) ก
5. Iodine Paint, compound sol (hosp) ก
6. Iodofrom (in ether) sol (hosp) ข
12.3.2 Oropharyngeal antifungal drugs
1. Clotrimazole lozenge ก
2. Miconazole nitrate oral gel ก
3. Nystatin oral susp ก
12.3.3 Antiseptics for root canal treatment
1. Camphorated parachlorophenol sol (hosp) ก
2. Camphorated phenol sol (hosp) ก
3. Chlorhexidine gluconate sol (hosp) (เฉพาะ 2%) ก
4. Clove oil oil ก
5. EDTA sol (hosp) (เฉพาะ 14% หรือ
17% )

6. Formocresol (Cresolated formaldehyde,
Formaldehyde and Cresol solution)
sol (hosp) ก
7. Sodium hypochlorite sol (hosp) ก
78
12.3.4 Drugs used in prevention and treatment of dental plaque and caries
1. Chlorhexidine gluconate mouthwash sol / mouthwash
sol (hosp) (เฉพาะ 0.1-0.2%w/v)

2. Sodium fluoride tab, oral sol ก
หมายเหตุ
ระวังการใช้ในพื้นที่ที่มีฟลูออไรด์สูง เพราะอาจทำให้เกิด fluorosis
12.3.5 Other dental preparations
1. Epinephrine (Adrenaline) sterile sol ก
2. Artificial saliva (Saliva substitutes) sol (hosp) ก
3. Hydrogen peroxide mouthwash sol (1.5% w/v ) ก
4. Sodium chloride sterile sol ก
5. Special mouthwash
ที่มีตัวยาสำคัญคือ chloroxylenol
mouthwash sol (hosp) ก
6. Tincture of iodine (Iodine in alcohol) sol, sol (hosp) ก
7. Zinc oxide pwdr (hosp) ก
หมายเหตุ
ใช้อุดคลองรากฟันที่ใช้บดเคี้ยวหรือใช้สำหรับอุดฟันชั่วคราวที่ต้องการให้ remove ออกได้ง่าย
8. Zinc oxide with zinc acetate pwdr (hosp) ก
หมายเหตุ
ใช้สำหรับอุดคลองรากฟันและอุดชั่วคราวที่ต้องการความแข็งแรงมาก
9. Carnoy's solution sol (hosp) ค
10. White head varnish varnish (hosp) ค
79
กลุ่มยา 13 Skin
13.1 Anti-infective skin preparations
13.1.1 Antibacterial preparations
1. Sulfadiazine silver (Silver sulfadiazine) cream ก
2. Fusidic acid cream ข
3. Sodium fusidate oint ข
4. Mupirocin oint ข
เงื่อนไข
จำกัดการใช้เฉพาะ Methicillin - resistant S.aureus (MRSA)
13.1.2 Antifungal preparations
1. Benzoic acid + Salicylic acid
(Whitfield’s ointment)
oint, oint (hosp) ก
2. Sodium thiosulfate sol, sol (hosp) ก
3. Clotrimazole cream ก
4. Ketoconazole cream ก
13.1.3 Parasiticidal preparations
1. Benzyl benzoate emulsion/lotion (เฉพาะ 25%) ก
2. Sulfur (Sulphur) oint ก
3. Permethrin
ยากำพร้า
cream (เฉพาะ 5%) ก
เงื่อนไข
ใช้ในหิด และโลน
หมายเหตุ
เป็นยากำพร้าอยู่ระหว่างการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนยา
13.2 Emollient and barrier preparations
1. Aluminium acetate
(Aluminium subacetate)
sol (hosp) ก
2. Mineral oil oil (hosp) ก
80
3. Olive oil oil ก
4. Urea cream (hosp), oint (hosp) ก
5. White petrolatum oint (hosp) ก
6. Zinc oxide oint (hosp), paste (hosp) ก
7. Zinc sulfate lotion (hosp) ก
13.3 Topical antipruritics
1. Calamine lotion, lotion (hosp) ก
หมายเหตุ
หากในสูตรตำรับยามี phenol เป็นส่วนประกอบ ต้องมีความเข้มข้นของ phenol ไม่เกิน 0.5 - 1%
2. Menthol + Phenol + Camphor ทุก topical dosage form (hosp) ก
13.4 Topical corticosteroids
1. Hydrocortisone acetate cream ก
2. Prednisolone cream ก
3. Betamethasone dipropionate cream, oint ก
4. Betamethasone valerate cream ก
5. Triamcinolone acetonide cream, lotion ก
6. Clobetasol propionate cream ก
7. Betamethasone valerate lotion, sol ข
8. Desoximetasone (Desoxymethasone) cream ข
9. Betamethasone dipropionate +
Salicylic acid
oint (เฉพาะ 0.05%+3%) ค
เงื่อนไข
ใช้สำหรับโรคสะเก็ดเงิน (psoriasis)
10. Clobetasol propionate oint ค
เงื่อนไข
ใช้สำหรับโรคผิวหนังเรื้อรังที่ไม่ตอบสนองต่อยาอื่น เช่น โรคสะเก็ดเงินที่เล็บซึ่งเป็นบริเวณที่หนาและ
ต้องใช้ยาที่เพิ่มการดูดซึมเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการรักษา
81
11. Clobetasol propionate lotion ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับโรคผิวหนังเรื้อรังที่ไม่ตอบสนองต่อยาอื่น
12. Mometasone furoate cream ง
เงื่อนไข
ใช้กรณีต้องใช้ยาเป็นเวลานาน
13.5 Other preparations for psoriasis (excluding topical corticosteroids)
1. Coal tar ทุก topical dosage form (hosp) ก
2. Salicylic acid lotion (hosp) ก
3. Dithranol (Anthralin) paste (hosp) ก
4. Methotrexate tab (as base or sodium) ข
เงื่อนไข
ใช้สำหรับ severe resistant psoriasis
5. Methoxsalen tab, topical sol (paint) ค
6. Calcipotriol oint ง
เงื่อนไข
ใช้ในกรณีที่ไม่ตอบสนองหรือเกิดผลข้างเคียงต่อ coal tar หรือ topical steroid
7. Acitretin cap ง
เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับ erythrodermic psoriasis
2. ใช้สำหรับ severe plaque type psoriasis ที่ไม่ตอบสนองต่อยาอื่นหรือมีข้อห้ามในการใช้ methotrexate
3. ใช้โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านตจวิทยา สำหรับรักษาโรคผิวหนังเรื้อรังอื่น ๆ ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาทั่วไป
8. Ciclosporin (Cyclosporin) cap, oral sol ง
เงื่อนไข
เช่นเดียวกับ acitretin
82
13.6 Preparations for warts and calluses
1. Podophyllin (Podophyllum resin) paint, paint (hosp) ก
2. Salicylic acid oint (hosp), paste (hosp) ก
3. Silver nitrate sol (hosp), crystal (hosp), stick
(hosp)

4. Trichloroacetic acid sol (hosp) ก
5. Salicylic acid + Lactic acid colloidal sol ข
83
กลุ่มยา 14 Immunological products and vaccines
1. Anti-D immunoglobulin, human
ยากำพร้า
inj ก
2. BCG vaccine (Bacillus Calmette-Gu?rin) inj ก
3. Diphtheria antitoxin (DAT)
ยากำพร้า
inj ก
4. Diphtheria-Tetanus vaccine ทั้งชนิด DT (children
type) และ dT (adult type)
inj ก
5. Diphtheria-Tetanus-Pertussis vaccine
(whole cell) (DTPw)
inj ก
6. Diphtheria-Tetanus-Pertussis-Hepatitis B vaccine
(DTP-HB)
inj ก
7. Hepatitis B vaccine (HB) inj ก
8. Influenza vaccine ชนิดวัคซีนรวม 3 สายพันธุ์
(trivalent) ตามที่องค์การอานามัยโลกกำหนดในแต่ละปี

เงื่อนไข
1. ผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 65 ปี ทุกราย
2. ผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังร่วมด้วย 7 โรค ได้แก่ โรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคไตวาย โรคหัวใจ
โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีเคมีบำบัด
3. สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุขที่มีความเสี่ยง
9. Influenza vaccine ชนิด pandemic influenza
สายพันธุ์ตามที่องค์การอนามัยโลกกำหนดในแต่ละปี

10. Measles-Mumps-Rubella vaccine (MMR) inj ก
11. Measles vaccine inj ก
12. Poliomyelitis vaccine, live attenuated (OPV) oral sol, oral susp ก
13. Rabies immunoglobulin, horse (ERIG) inj ก
14. Rabies vaccines
ยกเว้นชนิด human diploid cell vaccine (HDCV)
inj ก
เงื่อนไข
1. ใช้สำหรับ post-exposure protection
2. ใช้สำหรับ pre-exposure protection ในประชากรกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
15. Rubella vaccine inj ก
16. Tetanus antitoxin, horse inj ก
84
17. Tetanus vaccine (Tetanus toxoid) inj ก
18. Japanese encephalitis vaccine, inactivated
(inactivated JE vaccine)
inj ก
19. Japanese encephalitis vaccine, live attenuated
(Live Attenuated JE vaccine)
inj ข
เงื่อนไข
ใช้ในกรณีที่ inactivated Japanese encephalitis vaccine ขาดแคลน และเป็นไปตามข้อกำหนดของ
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ
20. Rabies immunoglobulin, human (HRIG) inj ข
เงื่อนไข
ใช้สำหรับผู้ที่แพ้ rabies immunoglobulin, horse (ERIG)
21. Tetanus antitoxin, human
(Anti-tetanus immunoglobulin, human)
inj ข
เงื่อนไข
ใช้สำหรับผู้ที่แพ้ tetanus antitoxin, horse
22. Hepatitis B immunoglobulin, human (HBlG) inj ค
เงื่อนไข
ใช้ร่วมกับการฉีด Hepatitis B vaccine เฉพาะในกรณีดังต่อไปนี้
1. ทารกแรกเกิดที่มารดามี HBsAg เป็นบวก
2. เมื่อผิวหนังหรือเยื่อเมือกสัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งที่มี HBsAg เป็นบวก เช่นบุคลากรทางการแพทย์
ที่เกิดอุบัติเหตุสัมผัสโรคจากการทำงานตามแนวปฏิบัติของสถานพยาบาลนั้น ๆ หรือผู้ที่ถูกข่มขืน
3. ป้องกันผู้ป่วยจากการกลับเป็นโรคตับอักเสบบีซ้ำหลังจากได้รับการเปลี่ยนตับแล้ว
หมายเหตุ
ในทารกแรกเกิดซึ่งมารดามีอายุครรภ์ปกติ การให้วัคซีนภายใน 24 ชั่วโมง สามารถป้องกันการติดเชื้อได้มาก
อยู่แล้ว การให้ HBlG ไม่ทำให้การป้องกันสูงขึ้น
85
กลุ่มยา 15 Anesthesia
15.1 General anesthesia
15.1.1 Intravenous anesthetics
1. Propofol sterile emulsion ค
2. Thiopental sodium (Thiopentone sodium) sterile pwdr ค
3. Ketamine hydrochloride
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท 2
sterile sol ง
เงื่อนไข
ใช้กับเด็กและผู้ใหญ่ที่หาเส้นเลือดสำหรับให้น้ำเกลือไม่ได้ และใช้ในกรณีผู้ป่วยมีความดันเลือดต่ำ
15.1.2 Inhalational anesthetics
1. Halothane volatile liquid ค
2. Isoflurane volatile liquid ค
3. Sevoflurane volatile liquid ค
15.1.3 Muscle relaxants (Neuromuscular blocking drugs)
1. Atracurium besilate sterile sol ค
2. Cisatracurium besilate sterile sol ค
3. Pancuronium bromide sterile sol ค
4. Rocuronium bromide sterile sol ค
5. Suxamethonium chloride
(Succinylcholine chloride)
sterile pwdr, sterile sol ค
6. Vecuronium bromide sterile pwdr ค
15.1.4 Sedative and analgesic peri-operative drugs
1. Diazepam
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท 4
cap, tab, sterile sol ก
2. Fentanyl citrate
ยาเสพติดให้โทษประเภท 2
sterile sol ค
3. Morphine sulfate
ยาเสพติดให้โทษประเภท 2
sterile sol ค
86
4. Pethidine hydrochloride
ยาเสพติดให้โทษประเภท 2
sterile sol ค
5. Midazolam hydrochloride
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท 2
sterile sol ง
เงื่อนไข
ใช้เสริมยาระงับความรู้สึกทั่วตัว และใช้รักษาผู้ป่วยที่มีอาการกระวนกระวายหรือชัก หลังให้ยาระงับความรู้สึก
6. Midazolam maleate
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท 2
tab ง
เงื่อนไข
ใช้เตรียมผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก (premedication) เท่านั้น โดยเบิกได้วันละไม่เกิน 2 เม็ด ต่อผู้ป่วย
หนึ่งราย
15.1.5 Anticholinesterases and antimuscarinic drugs used in anesthesia
1. Atropine sulfate sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้แก้ฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อ
2. Neostigmine methylsulfate sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้แก้ฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อ
15.2 Local anesthesia
1. Benzocaine gel, oint ก
2. Lidocaine + Prilocaine cream ก
3. Lidocaine hydrochloride gel, oint, spray, sterile sol
(dental cartridge), sterile sol
(local infiltration), viscous sol

4. Lidocaine hydrochloride + Epinephrine sterile sol (local infiltration),
sterile sol (dental cartridge)

5. Mepivaciane hydrochloride sterile sol (dental cartridge) ก
6. Mepivaciane hydrochloride + Epinephrine sterile sol (dental cartridge) ก
7. Bupivacaine hydrochloride sterile sol (local infiltration) ข
8. Bupivacaine hydrochloride sterile sol (spinal, epidural) ค
87
กลุ่มยา 16 Antidotes
ยาในกลุ่มนี้หลายชนิดไม่ปรากฏเป็นยาในบัญชีนี้ เนื่องจากเป็นยากำพร้า (orphan drugs) ที่มีปัญหาการจัดหา
และไม่มีทะเบียนตำรับยา แต่ควรส่งเสริมให้มีการจัดหามาใช้และควรอนุมัติให้เบิกค่ายาได้
หมายเลขโทรศัพท์ของศูนย์พิษวิทยา เช่น ศูนย์พิษวิทยา ร.พ.รามาธิบดี โทร.0 2201 1083 ศูนย์พิษวิทยา
ร.พ.ศิริราช โทร.0 2419 7007
1. Acetylcysteine (N-acetylcysteine) sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้แก้พิษที่เกิดจากการได้รับ paracetamol เกินขนาด
2. Antivenom sera
- งูเห่า
- งูจงอาง
- งูสามเหลี่ยม
- งูเขียวหางไหม้
- งูแมวเซา
- งูกะปะ
- งูทับสมิงคลา
inj ก
3. Polyvalent antivenom for hematotoxin inj ก
เงื่อนไข
ใช้แก้พิษต่อระบบเลือดในรายที่ถูกงูไม่ทราบชนิดกัด
4. Polyvalent antivenom for neurotoxin inj ก
เงื่อนไข
ใช้แก้พิษต่อระบบประสาทในรายที่ถูกงูไม่ทราบชนิดกัด
5. Atropine sulfate sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้ต้านพิษ cholinesterase inhibitors (เช่น organophosphates, carbamates) และภาวะ cholinergic crisis
6. Benzatropine mesilate
(Benztropine mesylate)
sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้บำบัดภาวะ dystonia เนื่องจากยา
88
7. Calcium gluconate sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษที่เกิดจาก hydrofluoric acid และ calcium channel blockers
หมายเหตุ
ให้ฉีดเข้าเส้นเลือดอย่างช้าๆ การฉีดเร็วอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
8. Charcoal, activated pwdr ก
เงื่อนไข
ใช้ดูดซับสารพิษทั่วไป
9. Diazepam
วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท 4
sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้บำบัดอาการชักที่เกิดจากยา หรือสารพิษ
10. Diphenhydramine hydrochloride cap, sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้บำบัดภาวะ dystonia เนื่องจากยาในเด็กและในผู้ใหญ่
11. Ethanol
ยากำพร้า
sterile sol, sterile sol (hosp) ก
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษจาก methanol และ ethylene glycol
12. Macrogols (Polyethylene glycol, PEG)
with electrolytes
oral pwdr , oral pwdr (hosp) ก
เงื่อนไข
ใช้ทำหัตถการล้างกระเพาะและลำไส้ (whole bowel irrigation) กรณีได้รับสารพิษ หรือล้างผิวหนัง
กรณีสัมผัส phenol
13. Naloxone hydrochloride sterile sol ก
เงื่อนไข
1. ใช้บำบัดอาการพิษจากสารกลุ่ม opioids และ clonidine
2. ใช้บำบัดภาวะกดการหายใจที่ไม่ทราบสาเหตุ
14. Pralidoxime chloride (2-PAM) sterile pwdr ก
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษที่เกิดจาก organophosphates
89
15. Sodium bicarbonate sterile sol (เฉพาะ 44.6 mEq) ก
เงื่อนไข
1. ใช้บำบัดภาวะ hyperkalemia และพิษที่เกิดจากสาร tricyclic antidepressants, antiarrythmics type I
2. ใช้ปรับปัสสาวะให้เป็นด่าง เพื่อเร่งการกำจัดสารพิษ เช่น salicylates, metformin, phenformin เป็นต้น
16. Vitamin K1 (Phytomenadione) sterile sol ก
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษจากยา anticoagulants (coumarin derivatives)
17. Cyclophosphamide sterile pwdr ค
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษจากสาร paraquat ภายใต้การกำกับดูแลของศูนย์พิษวิทยา
18. Deferoxamine mesilate
(Desferrioxamine mesilate)
sterile pwdr ค
เงื่อนไข
ใช้กำจัดพิษจากภาวะธาตุเหล็กสูงผิดปกติเฉียบพลัน และเรื้อรัง
19. Dimercaprol
(British Anti-Lewisite, BAL)
ยากำพร้า
sterile oil solution for IM use ค
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษเฉียบพลันจากปรอท ทอง และสารหนู และใช้ร่วมกับ sodium calcium edetate ในกรณีบำบัด
พิษเฉียบพลันจากตะกั่ว
คำเตือนและข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ถั่วลิสงเนื่องจากยานี้มีส่วนผสมของน้ำมันถั่วลิสง
20. Penicillamine (D-Penicillamine) cap ค
เงื่อนไข
ใช้บำบัดอาการพิษจากสารทองแดง ตะกั่ว ปรอท และสารหนู
คำเตือนและข้อควรระวัง
ระวังการใช้กับหญิงตั้งครรภ์เพราะเป็นสาร teratogen
21. Protamine sulfate sterile sol ค
เงื่อนไข
ใช้ในกรณีที่มีเลือดออกมากผิดปกติจากการได้รับ heparin เกินขนาด
90
22. Sodium calcium edetate
(Edetate calcium disodium, Calcium EDTA)
ยากำพร้า
sterile sol ค
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษจากตะกั่ว สังกะสี และแมงกานีส
23. Sodium nitrite
ยากำพร้า
sterile sol , sterile sol (hosp) ค
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษจากไซยาไนด์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์
คำเตือนและข้อควรระวัง
การใช้ยาปริมาณมากเกินไปอาจทำให้เกิดภาวะ cardiovascular collapse, methaemoglobinaemia และ
อาจถึงตายได้
24. Sodium thiosulfate
ยากำพร้า
sterile sol , sterile sol (hosp) ค
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษจากไซยาไนด์
25. Vitamin B6 (Pyridoxine hydrochloride) sterile sol (เฉพาะ 50 mg) ค
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษจากยา Isoniazid และเห็ดสมองวัว (Gyromitra spp.)
26. Botulinum antitoxin
ยากำพร้า
inj ง
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษ Botulism
27. Calcium folinate (Leucovorin calcium) cap, tab, sterile pwdr, sterile sol ง
เงื่อนไข
1. ใช้บำบัดพิษจากสาร folic acid antagonists, methotrexate, trimethoprim และ pyrimethamine
2. ใช้ป้องกันพิษจาก methotrexate เฉพาะกรณีใช้ยานี้ในขนาดสูง
3. ให้ร่วมกับ fluorouracil (5-FU) ในการบำบัดมะเร็งลำไส้
4. ใช้บำบัดพิษจาก methanol
91
28. Flumazenil sterile sol ง
เงื่อนไข
ใช้บำบัดอาการสงบประสาทที่เกิดจากการใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepines เกินขนาด
29. Mesna sterile sol ง
เงื่อนไข
ใช้เฉพาะกับผู้ป่วยที่ได้รับยา ifosfamide หรือ cyclophosphamide ขนาดสูง (มากกว่า 1.5 g/m2) เพื่อ
ป้องกันภาวะเลือดออกในทางเดินปัสสาวะ
30. Methylene blue
(Methylthioninium chloride)
ยากำพร้า
sterile sol , sterile sol (hosp) ง
เงื่อนไข
ใช้บำบัด methemoglobinaemia
คำเตือนและข้อควรระวัง
ควรใช้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยภาวะการทำงานของไตบกพร่องขั้นรุนแรง และในผู้ป่วยขาดเอนไชม์ G6PD
31. Norepinephrine (Noradrenaline) sterile sol (as bitartrate or
hydrochloride)

เงื่อนไข
ใช้บำบัดภาวะความดันเลือดตกเนื่องจากยา เช่น ยากลุ่ม beta-blockers, calcium channel blockers และ
theophylline เป็นต้น
32. Phenobarbital sodium
(Phenobarbitone sodium)
sterile pwdr ง
เงื่อนไข
ใช้บำบัดอาการชักที่เกิดจากยา
33. Succimer
ยากำพร้า
cap ง
เงื่อนไข
ใช้บำบัดพิษจากตะกั่ว
92
กลุ่มยา 17 Contrast media and Radiopharmaceuticals
17.1 X - ray contrast media, iodinated
17.1.1 Drugs used in urography and computed tomography
1. Iopromide sterile sol (เฉพาะ 300 และ 370
mg/ml as iodine), (50 ml,100 ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ urography และ computed tomography (CT)
หมายเหตุ
ขนาด 300 mg/ml ใช้กับเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิด multi-slice CT ส่วน 370 mg/ml ใช้กับ
ชนิด single-slice CT
2. Meglumine ioxitalamate + Sodium ioxitalamate sterile sol (เฉพาะ 350 mg/ml as
iodine), (50 ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ urography ในกรณีผู้ป่วยไม่มีความเสี่ยง
17.1.2 Drugs used in angiography
1. Iohexol sterile sol (เฉพาะ 300 mg/ml as
iodine), (100 ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ interventional neuroradiology
2. Iopromide sterile sol (เฉพาะ 300 mg/ml as
iodine), (100 ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ diagnostic angiography และ body interventional radiology
93
17.1.3 Drugs used in myelography
1. Iopamidol sterile sol (เฉพาะ 300 mg/ml as
iodine), (10 ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ myelography
17.1.4 Drugs used in cardiovascular catheterization
1. Iobitridol sterile sol (เฉพาะ 300 และ 350
mg/ml as iodine), (50 ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ cardiovascular catheterization เฉพาะผู้ป่วยเด็ก ผู้ป่วยที่มีภาวะความเสี่ยงทางไต
2. Iopromide sterile sol (เฉพาะ 300 และ 370
mg/ml as iodine), (50 ml, 100
ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ cardiovascular catheterization เฉพาะผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเด็ก ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
และผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว
3. Meglumine ioxitalamate + Sodium ioxitalamate sterile sol (เฉพาะ 350 mg/ml as
iodine), (50 ml, 100 ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ cardiovascular catheterization ในกรณีผู้ป่วยไม่มีความเสี่ยง
17.1.5 Drugs used in Intracavitary, Hysterosalpingography (HSG),
Urethrography, Voiding cysto-urethrography
1. Meglumine ioxitalamate + Sodium ioxitalamate sterile sol (เฉพาะ 350 mg/ml as
iodine), (50 ml, 100 ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ intracavitary, hysterosalpingography (HSG), urethrography, voiding cystourethrography
94
17.2 X - ray contrast media, non – iodinated
1. Barium sulfate pwdr for oral susp ก
หมายเหตุ
ต้องเป็น Barium sulfate ที่บริสุทธิ์และใช้ในทางการแพทย์สำหรับการตรวจวินิจฉัยโรคเท่านั้น
17.3 Magnetic resonance imaging contrast media (MRI diagnostic agents)
1. Meglumine gadopentetate sterile sol (เฉพาะ 469 mg/ml of
gadopentetic acid ), (10 ml, 15
ml)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับ MRI
17.4 Radiopharmaceuticals
1. Tc-99m dextran sterile sol for inj (hosp) ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคการอุดกั้นของระบบทางเดินน้ำเหลือง (lymphatic obstruction)
2. Tc-99m diethylene triamine penta
acetic acid (DTPA)
sterile sol for inj (hosp),
aerosol for inhalation (hosp)

เงื่อนไข
1. ใช้เพื่อการคำนวณหาค่า glomerular filtration rate (GFR) ในโรคไต
2. ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินหายใจ (ventilation lung scan)
3. ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
3. Tc-99m dimercaptosuccinic acid (DMSA) sterile sol for inj (hosp) ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคการอักเสบของเนื้อไต
4. Tc-99m dimercaptosuccinic acid V (DMSA [V]) sterile sol for inj (hosp) ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับตรวจวินิจฉัยโรค medullary thyroid cancer
95
5. Tc-99m iminodiacetic acid (IDA) sterile sol for inj (hosp) ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินน้ำดี
6. Tc-99m methylene diphosphonate (MDP) sterile sol for inj (hosp) ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคกระดูกและข้อ หรือการแพร่กระจายของมะเร็งไปยังกระดูก
7. Tc-99m phytate sterile sol for inj (hosp), aerosol
for inhalation (hosp)

เงื่อนไข
ใช้สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคตับ ม้าม และปอด
8. Tc-99m sulfur colloid sterile sol for inj (hosp) ง
เงื่อนไข
ใช้สำหรับตรวจวินิจฉัยโรค reticuloendothelial system
หมายเหตุ อักษรย่อ
cap = capsule
COPD = chronic obstructive
pulmonary disease
DPI = dry powder inhaler
EC = enteric coated
g = gram
GnRH = gonadotrophin-releasing
hormone
hosp = hospital formulary
(เภสัชตำรับโรงพยาบาล)
inj = injection
IM = intramuscular
IU = International unit
mcg = microgram
MDI = metered dose inhaler
mEq = milliequivalent
mixt = mixture
mg = milligram
ml = milliliter
mmol = millimole
mOsm = milliosmole
oint = ointment
pwdr = powder
sol = solution
SR = ยาออกฤทธิ์นาน
supp = suppository
susp = suspension
syr = syrup
tab = tablet
U = unit
USP = United States
Pharmacopeia
96
ภาคผนวก 2
รายการยาเภสัชตำรับโรงพยาบาล (ที่เป็นยาแผนปัจจุบัน)
1. สูตรตำรับยาของเภสัชตำรับโรงพยาบาล
CREAMS
Betamethasone Dipropionate Cream (0.05%w/w of betamethasone)
Betamethasone Dipropionate
(equivalent to Betamethasone 0.05 g)
0.0643 g
Non-ionic Buffered Cream Base q.s. 100.00 g
Group : 13.4 Topical Corticosteroids
Betamethasone Valerate Cream (0.1%w/w of betamethasone)
Betamethasone Valerate (equivalent to Betamethasone 0.1g) 0.1214 g
Non-ionic Buffered Cream Base q.s. 100.00 g
Group : 13.4 Topical Corticosteroids
Hydrocortisone Acetate Cream (1%w/w of Hydrocortisone acetate)
Hydrocortisone Acetate 1.00 g
Non-ionic Buffered Cream Base q.s. 100.00 g
Group : 13.4 Topical Corticosteroids
Methyl Salicylate Cream Compound
Methyl Salicylate 15.00 ml
Menthol 6.00 g
Eugenol 2.00 ml
Cajuput Oil 1.20 ml
Turpentine Oil 1.50 ml
Cetyl Alcohol 1.75 g
Stearyl Alcohol 1.75 g
Glyceryl Stearate and PEG-100 Stearate mixture (Aracel? 165) 2.00 g
White Beeswax (White Wax) 2.00 g
Liquid Paraffin 2.00 ml
Carbomer 940 0.80 g
Propylene Glycol 5.00 ml
Sodium Lauril Sulfate (Sodium Lauryl Sulfate) 1.00 g
Triethanolamine q.s.
Preservatives q.s.
Purified Water q.s. 100.00 g
Group : 10.3 Drugs for the relief of soft-tissue inflammation
97
Prednisolone Cream
Prednisolone 0.50 g
Non-ionic Buffered Cream Base q.s. 100.00 g
Group : 13.4 Topical Corticosteroids
Sulfadiazine Silver (Silver Sulfadiazine) Cream
Sulfadiazine Silver 1.00 g
Carbomer 940 0.30 g
Triethanolamine 0.30 ml
Propylene Glycol 2.50 ml
Cetyl Alcohol 7.00 g
Liquid Paraffin 23.50 ml
Polysorbate 80 6.50 ml
Wool Fat 1.00 g
Paraben Conc 1.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 g
Group : 13.1.1 Antibacterial Preparations
Triamcinolone Acetonide Cream
Triamcinolone Acetonide 0.02 หรือ 0.10 g
Non-ionic Buffered Cream Base q.s. 100.00 g
Group : 13.4 Topical Corticosteroids
Urea Cream
Urea 5.00-40.00 g
Non-ionic Buffered Cream Base q.s. 100.00 g
Group : 13.2 Emollient and Barrier Preparations
EAR DROPS
Sodium Bicarbonate Ear Drop
Sodium Bicarbonate 5.00 g
Glycerol (Glycerin) 30.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 12.1 Drugs Acting on the Ear
Note : ยานี้เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 15-25 องศาเซลเซียส จะมีอายุไม่เกิน 4 สัปดาห์
หลังเตรียมยา
98
ELIXIRS
Potassium Chloride Elixir
Potassium Chloride 10.00 g
Ethyl Alcohol 95% 3.20 ml
Aspartame 0.03 g
Cream Soda 0.03 ml
Edicol Apple Green 1% 0.3 ml
Simple Syrup 50.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 9.2 Fluids and Electrolytes
Note : 15 ml ประกอบด้วย Potassium 20 mEq
LOTIONS
Benzyl Benzoate Lotion
Benzyl Benzoate 25.00 g
Emulsifying Wax B.P. 2.00 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 13.1.3 Parasiticidal Preparations
Calamine Lotion
Calamine, in fine powder 15.00 g
Zinc Oxide, in fine powder 5.00 g
Bentonite 3.00 g
Sodium Citrate 0.50 g
Glycerol (Glycerin) 5.00 ml
Flavouring Agent q.s.
Purified Water q.s. 100.00 ml
ในตำรับอาจเพิ่ม
Liquified Phenol 0.50 g
Camphor 0.10 g
Menthol 0.10 g
Group : 13.3 Topical Antipruritics
Salicylic Acid Lotion
Salicylic Acid 3.00 g
Ethyl Alcohol 95% 25.00 ml
Purified Water 25.00 ml
99
Propylene Glycol q.s. 100.00 ml
Group : Other Preparations for Psoriasis (excluding Topical Corticosteroids)
Note : อาจเติม Lactic acid, Urea อย่างละ 1 % และยานี้จะมีอายุไม่เกิน 4 สัปดาห์
หลังเตรียมยา
Triamcinolone Acetonide Lotion
Triamcinolone Acetonide 0.10 g
Lactic Acid 10.00 ml
Acetone 1.00 ml
Ethyl Alcohol 95% 5.00 ml
Propylene Glycol 50.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 13.4 Topical Corticosteroids
Zinc Sulfate Lotion
Synonyms : White Lotion
Zinc Sulfate 4.00 g
Sulfurated Potash 4.00 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 13.2 Emollient and Barrier Preparations
Note : - เขย่าขวดก่อนใช้
- ยานี้เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 15-25 องศาเซลเซียส จะมีอายุไม่เกิน 4 สัปดาห์
หลังเตรียมยา
MIXTURES
Ammonium Carbonate and Senega Mixture
Ammonium Carbonate 0.80 g
Ipecacuanha Tincture 2.00 ml
Senega Tincture 6.66 ml
Methyl Hydroxybenzoate (Methylparaben) 0.10 g
Propyl Hydroxybenzoate (Propylparaben) 0.02 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 3.6.2 Expectorant and Demulcent Cough Preparations
Note : ก่อนจ่ายยาให้เจือจางด้วยน้ำเชื่อมในอัตราส่วน 1 : 1
100
Compound Cardamom Mixture
Synonyms : Compound Cardamom Mixture ; Mist Carminative
Compound Cardamom Tincture 1.20 ml
Capsicum Tincture (Capsic Tincture) 0.40 ml
Ginger Tincture 0.80 ml
Camphor 0.20 ml
Ethyl Alcohol 95% 13.45 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 1.1 Antacids and Other Drugs for Dyspepsia
Magnesium Sulfate Mixture
Synonyms : Mist. Alba ; White Mixture
Magnesium Sulfate 40.00 g
Light Magnesium Carbonate 5.00 g
Peppermint Spirit 2.50 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 1.6 Laxatives
Note : - ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคไตและตับ
- ยานี้เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 15-25 องศาเซลเซียส จะมีอายุไม่เกิน 4 สัปดาห์
หลังเตรียมยา
Opium and Glycyrrhiza Mixture Compound
Synonyms : Brown Mixture ; Mist. Tussis
Glycyrrhiza Fluidextract 12.00 ml
Antimony Potassium Tartrate 24.00 mg
Camphorated Opium Tincture 12.00 ml
Glycerol (Glycerin) 12.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 3.6.1 Cough Suppressants
Squill and Ammonia Mixture
Ammonium Carbonate 2.00 g
Squill Tincture 3.40 ml
Camphorated Opium Tincture 13.33 ml
Senega Tincture 12.00 ml
Syrup 6.70 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 3.6.1 Cough Suppressants
101
NASAL DROPS
Ephedrine Hydrochloride Nasal Drop
Ephedrine Hydrochloride 0.50-3.00 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 12.2.2 Topical Nasal Decongestants
Note : ยานี้เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 15-25 องศาเซลเซียส จะมีอายุไม่เกิน 4 สัปดาห์
หลังเตรียมยา
OINTMENTS
Benzoic Acid and Salicylic Acid Ointment
Synonyms : Whitfield’s Ointment
Benzoic Acid, fine powder 6.00 g
Salicylic Acid, in fine powder 3.00 g
Hydrophilic Ointment Base q.s. 100.00 g
Group : 13.1.2 Antifungal Preparations
Coal Tar Ointment
Coal Tar 3.00-5.00 g
Polysorbate 80 0.50 g
Hydrophilic Ointment Base q.s. 100.00 g
Group : Other Preparations for Psoriasis (Excluding Topical Corticosteroids)
Dithranol (Anthralin) Ointment
Dithranol 0.10-1.00 g
Lassar’ s Paste q.s. 100.00 g
Lassar’ s Paste
Zinc Oxide 24.00 g
Corn Starch 24.00 g
Salicylic Acid 1.00 g
White Soft Paraffin 50.00 g
Group : Other Preparations for Psoriasis (Excluding Topical Corticosteroids)
Methyl Salicylate Ointment Compound
Synonyms : Analgesic Balm
Methyl Salicylate 25.00 ml
Hard Paraffin 15.20 g
White Beeswax (White Wax) 7.00 g
White Vaseline 33.00 g
102
Menthol 10.00 g
Camphor 5.00 g
Peppermint Oil 0.45 g
Eucalyptus Oil 2.75 g
Clove Oil 0.10 g
Capsicum Tincture (Capsic Tincture) 1.50 g
Group : 10.3 Drugs for the relief of soft-tissue inflammation
Nitrofural (Nitrofurazone) Ointment
Synonyms : Nitrofurazone Soluble Dressing
Nitrofurazone 0.20 g
Polyethylene Glycol 400 66.60 ml
Polyethylene Glycol 4000 33.30 g
Group : 5.6 Antiseptics
Salicylic Acid Ointment
Salicylic Acid 3.00-5.00 g
Hydrophilic Ointment Base q.s. 100.00 g
Group : 13.6 Preparations for Warts and Calluses
Sulfur (Sulphur) Ointment
Precipitated Sulfur 6.00-10.00 g
Luquid paraffin (Mineral Oil) 10.00 ml
White Ointment q.s. 100.00 g
White Ointment
White Beeswax (White Wax) 5.00 g
White Soft Paraffin 95.00 g
Group : 13.1.3 Parasiticidal Preparations
Urea Ointment
Urea 20.00-40.00 g
Hydrophilic Ointment Base q.s. 100.00 g
Group : 13.2 Emollient and Barrier Preparations
103
PAINTS
Iodine Paint, Compound
Synonyms : Mandl's Paint
Iodine 1.25 g
Potassium lodide 2.50 g
Purified Water 2.50 ml
Peppermint Oil 0.40 ml
Glycerol (Glycerin) q.s. 100.00 ml
Group : 12.3.1 Oropharyngeal Antiseptics
Podophyllin Paint (Podophyllum Resin)
Synonyms : Podophyllin Paint, Compound
Podophyllum Resin 10.00-25.00 g
Compound Benzoin Tincture q.s. 100.00 ml
Group : 13.6 Preparations for Warts and Calluses
PASTES
Salicylic Acid Paste
Salicylic Acid 3.40 g
Glycerol (Glycerin) 5.00 g
Zinc Oxide, fine powder 25.00 g
Starch 25.00 g
White Soft Paraffin q.s. 100.00 g
Group : 13.6 Preparations for Warts and Calluses
Zinc Oxide Paste
Zinc Oxide , fine powder 25.00 g
Starch , fine powder 25.00 g
White Soft Paraffin q.s. 100.00 g
Group : 13.2 Emollient and Barrier Preparations
104
POWDERS
Macrogol Oral Powder
Synonyms : Polyethylene Glycol ; PEG Lavage
Polyethylene Glycol 4000 5.50 g
Potassium Chloride 0.07 g
Sodium Chloride 0.15 g
Sodium Bicarbonate 0.17 g
Sodium Sulfate 0.57 g
Group : 1.6 Laxatives
Note : ผสมน้ำ 100 ml
Oral Rehydration Salts
Synonyms : O.R.S.
Sodium Chloride 2.60 g
Trisodium Citrate Dihydrate 2.90 g
Potassium Chloride 1.50 g
Glucose 13.50 g
Group : 1.4 Drugs Used in Acute Diarrhoea
Note : เป็นสูตรเตรียมผงเกลือแร่สำหรับผสมน้ำ 1 ลิตร เมื่อผสมน้ำ 1 ลิตรแล้วจะมี
Glucose 75 mEq, Sodium 75 mEq (mmol), Chloride 65 mEq (mmol),
Potassium 20 mEq (mmol), Citrate 10 mEq (mmol),
Osmolarity 245 mOsm
SCRUBS
Povidone-Iodine Scrub
Povidone-iodine 7.50 g
Sodium Lauril Sulfate (Sodium Lauryl Sulfate) (LZV) 20.00 g
Cocamide DEA 3.00 ml
Isopropyl Myristate 0.75 ml
Propylene Glycol 1.50 ml
Sodium Chloride 0.25 g
Preservative q.s.
Citric Acid q.s. to pH 4.5-5.0
EDTA 0.075 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 5.6 Antiseptics
105
SHAMPOOS
Tar Shampoo
Coal Tar Solution 5.00 ml
Shampoo Base q.s. 100.00 ml
Shampoo Base
Sodium Lauryl Ether Sulfate 20.00 gm
Sodium Lauril Sulfate (Sodium Lauryl Sulfate) Needle 20.00 gm
EDTA 0.10 gm
Polysorbate 80 1.00 ml
Cocamidopropyl Betaine 4.00 ml
Cocamide diethanolamide (Cocamide DEA) 4.00 ml
Polyethylene Glycol 400 4.00 ml
Propylene Glycol 3.00 ml
Glycerol (Glycerin) 3.00 ml
Panthenol (D-panthenol) 0.20 ml
Sodium Chloride 2.00 gm
Methyl Hydroxybenzoate (Methylparaben) 0.10 gm
Propyl Hydroxybenzoate (Propylparaben) 0.02 gm
Citric Acid q.s. to pH 4.5-5.5
Deionized Water q.s. 100.00 ml
Group : 13.5 Other Preparations for Psoriasis (Excluding Topical Corticosteroids)
Note : อาจเติม Salicylic Acid 3.0% ได้
SOLUTIONS
Aluminium Acetate Solution
Synonyms : Burow's Solution
Aluminium Subacetate Solution 54.50 ml
Glacial Acetic Acid 1.50 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Aluminium Subacetate Solution
Aluminium Sulfate 14.50 g
Acetic Acid 16.00 ml
Precipitated Calcium Carbonate 7.00 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
ในตำรับอาจมี Boric Acid 0.90 g
Group : 13.2 Emollient and Barrier Preparations
Note : ก่อนใช้ให้เจือจางด้วยน้ำ 1:10 - 1:40
106
Cloral Hydrate Oral Solution
Synonyms : Chloral Hydrate Oral Solution; Chloral Hydrate Mixture, Pediatric
Cloral Hydrate (Chloral hydrate) 10.00 g
Citric Acid, Monohydrate 0.75 g
Paraben Conc 1.00 ml
Glycerol (Glycerin) 10.00 ml
Purified Water 20.00 ml
Color, Flavor q.s.
Simple Syrup q.s. 100.00 ml
Group : 4.1 Hypnotics and Anxiolytics
Storage : ควรใช้ภายใน 3 เดือน เมื่อเก็บยาที่อุณหภูมิห้อง
Note : ข้อห้ามใช้ 1. Hypersentivity 2. Severe hepatic impairment 3. Severe renal impairment
4. gastritis
Copper Sulfate Sterile Solution
Copper (II) sulfate (CuSO4. 5H2O) 0.157 g
Distilled Water q.s. 100.00 ml
Group : 9.5 Minerals
Ethyl Alcohol Solution
Synonyms : Ethyl Alcohol 70%
Ethyl Alcohol 95% 73.70 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 5.6 Antiseptics
Note : ควรแต่งสีด้วย Brilliant Blue
Glycerol Oral Solution
Glycerol (Glycerin) 50.00 ml
Peppermint Spirit, Color q.s.
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 11.4 Drugs for Treatment of Glaucoma
Intraperitoneal Dialysis Solution (Isotonic Solution) (1.5% Dextrose in Dialysis)
Dextrose, anhydrous 15.00 g
Sodium Chloride 5.56 g
Sodium Acetate 4.49 g
Calcium Chloride 0.257 g
Magnesium Chloride 0.05-0.10 g
107
Sodium Metabisulfite 0.01 g
Water for Injection q.s. 1000.00 ml
Group : 9.2 Fluids and Electrolytes
Intraperitoneal Dialysis Solution (2.5% Dextrose in Dialysis)
Anhydrous Dextrose 25.00 g
Sodium Chloride 5.56 g
Sodium Lactate 4.49 g
Calcium Chloride 0.257 g
Magnesium Chloride 0.05-0.10 g
Sodium Metabisulfite 0.01 g
Water for Injection q.s. 1000.00 ml
Group : 9.2 Fluids and Electrolytes
Intraperitoneal Dialysis Solution (4.25% Dextrose in Dialysis)
Anhydrous Dextrose 42.50 g
Sodium Chloride 5.56 g
Sodium Lactate 4.49 g
Calcium Chloride 0.257 g
Magnesium Chloride 0.05-0.10 g
Sodium Metabisulfite 0.01 g
Water for Injection q.s. 1000.00 ml
Group : 9.2 Fluids and Electrolytes
Lugol's Solution
Synonyms : Aqueous Iodine Oral Solution , Strong Iodine Solution
Iodine 5.00 g
Potassium Iodide 10.00 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 6.2.2 Antithyroid Drugs
Magnesium Sulfate Solution
Synonyms : Saturated Magnesium Sulfate Solution
Magnesium Sulfate 50.00 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 1.6 Laxatives
Note : ยานี้เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 15-25 องศาเซลเซียส จะมีอายุไม่เกิน 4 สัปดาห์
หลังเตรียมยา
108
Neutral Phosphate Oral Solution
Dibasic Sodium Phosphate (Disodium Hydrogen Phosphate) 0.539 g
Potassium Dihydrogen Phosphate 1.30 g
Monobasic Sodium Phosphate Dihydrate
(Sodium Dihydrogen Phosphate Dihydrate)
0.297 g
Glycerol (Glycerin) 5.00 ml
Simple Syrup 40.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 9.5 Minerals
Note : 5 ml ประกอบด้วย Sodium, Potassium อย่างละ 0.475 mEq และ Phosphate 0.95 mEq
Potassium Acetate Sterile Solution
Potassium Acetate 2.95 g
Water for Injection q.s 10.00 ml
Group : 9.2 Fluids and Electrolytes
Note : - 5 ml ประกอบด้วย Potassium 15 mEq
- ควรใช้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยโรคหัวใจ
- ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่การทำงานของไตบกพร่องและมีอาการปัสสาวะน้อย ไม่มีปัสสาวะ ภาวะเลือดคั่ง
ไนโตรเจน (Azotemia) Addison’s Disease ภาวะที่มีโปแตสเซียมในเลือดสูง
- ไม่ควรใช้ยาในผู้ป่วยที่ได้รับ Potassium-sparing Diuretics
- ยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำควรให้อย่างช้า ๆ เพราะถ้าความเข้มข้นของโปแตสเซียมในเลือดสูง จะมีผล
ต่อการทำงานของหัวใจ ภาวะ Peripheral และ Pulmonary Edema
Potassium Citrate Oral Solution
Potassium Citrate 6.60 g
Orange Powder 0.005 g
Paraben Conc 1.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 7.4.3 Drugs Used in Alkalinisation of Urine และ 9.2 Fluids and Electrolytes
Povidone-Iodine Solution
Povidone-Iodine 10.00 g
Propylene Glycol 0.25 ml
Polyethylene Glycol 400 0.50 ml
Dibasic Sodium Phosphate
(Sodium Phosphate, Disodium Phosphate)
1.32 g
109
Citric Acid 0.92 g
Cetomacrogol 1000 หรือ Nonoxinol 9 0.02 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 5.6 Antiseptics
Note : ยามี pH = 4-5
Saturated Solution of Potassium Iodide Oral Solution (SSKI)
Potassium Iodide 100.00 g
Sodium Thiosulfate 0.05 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 6.2.2 Antithyroid Drugs
Sodium Acetate Sterile Solution
Sodium Acetate 4.07 g
Water for Injection q.s 10.00 ml
Group : 9.2 Fluids and Electrolytes
Note : - 5 ml ประกอบด้วย Sodium 20 mEq
- ใช้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง การทำงานของไตบกพร่อง
ภาวะ Peripheral และ Pulmonary Edema
Sodium Citrate and Citric Acid Oral Solution
Synonyms : Shohl’s solution
Methyl Hydroxybenzoate (Methylparaben) 0.035 g
Propyl Hydroxybenzoate (Propylparaben) 0.025 g
Ethyl Alcohol 95% 1.50 ml
Sucrose 5.00 g
Sodium Citrate dihydrate 10.00 g
Citric Acid anhydrous 6.00 g
Lemon Oil q.s.
Color q.s.
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 7.4.3 Drugs Used in Alkalinisation of Urine
Note : 5 ml ประกอบด้วย Sodium 5 mEq ซึ่งให้ bicarbonate ประมาณ 5 mEq
Sodium Citrate and Potassium Citrate Oral Solution
Sodium Citrate 24.80 g
Potassium Citrate 27.20 g
Propylene Glycol 10.00 ml
110
Simple Syrup 20.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 7.4.3 Drugs Used in Alkalinisation of Urine
Note : 5 ml ประกอบด้วย Sodium, Potassium อย่างละ 12.65 mEq
Sodium Thiosulfate Solution
Sodium Thiosulfate 20.00 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 13.1.2 Antifungal Preparations
Note : ยานี้เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 15-25 องศาเซลเซียส จะมีอายุไม่เกิน 4 สัปดาห์
หลังเตรียมยา
Tincture of Iodine Solution (Iodine in Alcohol)
Synonyms : Weak Iodine Solution ; Iodine Tincture
Iodine 2.50 g
Potassium Iodine 2.50 g
Purified Water 2.50 ml
Ethyl Alcohol 95% q.s. 100.00 ml
Group : 5.6 Antiseptics
Trace Element Solution (Oral Solution)
Zinc Sulfate (ZnSO4 .7H2O) 5.719 g
Manganese sulfate (MnSO4 . H2O) 0.923 g
Copper (II) sulfate pentahydrate (CuSO4 . 5H2O) 0.707 g
Potassium Iodine (KI) 0.026 g
Chromic Trichloride (CrCl3 . 6H2O) 0.012 g
Sodium Molybdate (Na2MoO4 . 2H2O) 0.008 g
Cobalt (II) sulfate Heptahydrate (CoSO4 . 7H2O) 0.008 g
Distilled Water q.s. 1000.00 ml
Group : 9.5 Minerals
Note : Distilled Water ที่ใช้เตรียมยากลุ่ม Minerals ต้องปราศจาก Minerals
Zinc Sulfate Sterile Solution
Zinc Sulfate (ZnSo4 . 7H2O) 0.44 g
Distilled Water q.s. 100.00 ml
Group : 9.5 Minerals
111
SPIRITS
Aromatic Ammonia Spirit
Ammonium Carbonate 3.20 g
Ammonia Solution 30% 3.50 ml
Lemon Oil 1.00 ml
Lavender Oil 0.10 ml
Ethyl Alcohol 95% 70.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 3.8 Other respiratory preparations
SUSPENSIONS
Aluminium Hydroxide and Magnesium Hydroxide Suspension
Synonyms : Alumina and Magnesia Oral Suspension
Aluminium Hydroxide Compressed Gel equivalent to Aluminium Oxide 3.56 g
Magnesium Hydroxide Paste equivalent to Magnesium Hydroxide 1.80 g
Sorbitol Solution 70% 10.00 ml
Syrup U.S.P. 5.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Peppermint Oil q.s.
Color q.s.
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 1.1 Antacids and Other Drugs for Dyspepsia
Note : ให้มีส่วนประกอบ Al2O3 = 3.1-4.0 % w/w , Mg(OH)2 = 1.4-2.2 % w/w
Aluminium Hydroxide Suspension
Synonyms : Aluminium Hydroxide Gel ; Colloidal Aluminium Hydroxide ;
Aluminium Hydroxide Mixture
Aluminium Hydroxide Paste equivalent to Aluminium Oxide 4.00 g
Glycerol (Glycerin) 9.33 ml
Sorbitol Solution 5.00 ml
Peppermint Oil 0.026 ml
Methyl Hydroxybenzoate (Methylparaben) 0.10 g
Propyl Hydroxybenzoate (Propylparaben) 0.02 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 1.1 Antacids and other drugs for dyspepsia และ 9.5 Minerals
Note : ปรับความหนืดด้วย Suspending Agent ตามความเหมาะสม
112
Bentonite Magma Suspension
Synonyms : Bentonite Magma
Bentonite 7.00 g
Glycerol (Glycerin) 20.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 16. Antidotes
Note : ยานี้เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 15-25 องศาเซลเซียส จะมีอายุไม่เกิน 4 สัปดาห์
หลังเตรียมยา
Magnesium Hydroxide Suspension
Synonyms : Milk of Magnesia
Magnesium Hydroxide 7.50 g
Glycerol (Glycerin) 9.33 ml
Sorbitol Solution 5.00 ml
Peppermint oil 0.026 ml
Methyl Hydroxybenzoate (Methylparaben) 0.10 g
Propyl Hydroxybenzoate (Propylparaben) 0.02 g
Citric Acid 0.10 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 1.1 Antacids and Other Drugs for Dyspepsia , 1.6 Laxatives และ 9.5 Minerals
Note : ปรับความหนืดด้วย Suspending Agent ตามความเหมาะสม
Mebendazole Suspension
Mebendazole 2.00 g
Carboxymethyl Cellulose Sodium (medium viscosity grade) 1.00 g
Citric Acid 0.30 g
Sorbitol Solution 10.00 ml
Syrup 12.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Flavouring Agent q.s.
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 5.5 Anthelmintics
Note : แต่งสีและกลิ่นได้ตามที่เห็นเหมาะสม
113
SYRUPS
Acetaminophen (Paracetamol) Syrup
Synonyms : Acetaminophen (Paracetamol) Syrup, Pediatric
Acetaminophen (Paracetamol) 24.00 g
Polyethylene Glycol 1500 75.00 g
Glycerol (Glycerin) 150.00 ml
EDTA 0.10 g
Methyl Hydroxybenzoate (Methylparaben) 1.00 g
Propyl Hydroxybenzoate (Propylparaben) 0.20 g
Syrup 400.00 ml
Sorbitol Solution 70% 100.00 ml
Citric Acid 0.30 g
Sodium Citrate 1.00 g
Sodium Chloride 0.20 g
Color, Flavor q.s.
Purified Water q.s. 1,000.00 ml
Group : 4.6 Analgesics and Antipyretics
Chlorpheniramine Maleate Syrup
Synonyms : Chlorpheniramine Syrup , Pediatric
Chlorpheniramine Maleate 0.04 g
Simple Syrup 40.00 ml
Sorbitol Solution 10.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Color, Flavor q.s.
Purified Water q.s. 100.00 ml
pH = 4 - 5
Group : 3.4 Antihistamines
Note : เพิ่มความหนืด แต่งสีและกลิ่นได้ตามความเหมาะสม
Ferrous Sulfate Drops
Ferrous Sulfate 12.50 g
Citric Acid 0.20 g
Paraben Conc 1.00 ml
Syrup q.s. 100.00 ml
Group : 9.5 Minerals
Storage : เก็บให้พ้นแสง ให้บรรจุในขวดสีชา
Note : 100 ml ประกอบด้วย ferrous ion 2.5 g
114
Glyceryl Guaiacolate Syrup
Guaifenesin (Glyceryl Guaiacolate) 2.00 g
Citric Acid 0.80 g
Sodium Citrate 0.05 g
Sodium Chloride 0.50 g
Menthol 0.03 g
Paraben Conc 1.00 ml
Glycerol (Glycerin) 10.00 ml
Polyethylene Glycol 4000 10.00 g
Syrup 50.00 ml
Ethyl Alcohol 95% 0.03 ml
Color, Flavor q.s.
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 3.6.2 Expectorant and Demulcent Cough Preparations
Potassium Chloride Syrup
Potassium Chloride 10.00 g
Citric Acid 0.60 g
Aspartame 0.10 g
Menthol 0.01 g
Methyl Hydroxybenzoate (Methylparaben) 0.10 g
Propyl Hydroxybenzoate (Propylparaben) 0.02 g
Sorbitol Solution 20.00 ml
Purified Water 30.00 ml
Flavoring Agent q.s.
Syrup q.s. 100.00 ml
Group : 9.2 Fluids and Electrolytes
Note : 15 ml ประกอบด้วย Potassium 20 mEq
TINCTURES
Thiomersal (Thimerosal) Tincture
Thiomersal (Thimerosal) 0.10 g
Ethyl Alcohol 95% 52.50 ml
Acetone 10.00 ml
Ethylenediamine 0.02 g
Monoethanolamine 0.10 g
Merbromin (Mercurochrome) 0.40 g
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 5.6 Antiseptics
115
DENTAL PREPARATIONS
Artificial Saliva Solution (Saliva Substitutes)
Carboxymethyl Cellulose Sodium 0.30 g
Magnesium Sulfate 0.003 g
Potassium Chloride 0.06 g
Monobasic Sodium Phosphate Dihydrate
(Sodium Dihydrogen Phosphate Dihydrate)
0.05 g
Glycerol (Glycerin) 2.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 ml
Group : 12.3.3 Other Dental Preparations
Storage : เก็บในภาชนะปิดสนิท ในตู้เย็น
Camphorated Parachlorophenol Solution
Synonyms : Chlorocamphene
Camphor 21.00 g
Parachlorophenol (4-Chlorophenol ) 9.00 g
Group : 12.3.1 Oropharyngeal Antiseptics
Storage : เก็บในภาชนะปิดสนิท ป้องกันแสงแดด
Note : - ระคายเคืองผิวหนังและเนื้อเยื่อ
- เตรียมยาตัวนี้ใน Hood ตลอดขั้นตอน และสวมถุงมือ
Camphorated Phenol Solution
Synonyms : Camphophenol
Phenol 30.00 g
Camphor 60.00 g
Liquid Paraffin q.s. 100.00 ml
Group : 12.3.1 Oropharyngeal Antiseptics
Storage : เก็บในภาชนะปิดสนิท ป้องกันแสงแดด
Note : - ระคายเคืองผิวหนังและเนื้อเยื่อ
- เตรียมยาตัวนี้ใน Hood ตลอดขั้นตอน และสวมถุงมือ
Carnoy’s Solution
Absolute Ethyl Alcohol 6.00 ml
Chloroform 3.00 ml
Glacial Acetic Acid 1.00 ml
Ferric Chloride 1.00 g
Group : 12.3.3 Other Dental Preparations
116
Storage : เก็บในขวดแก้วสีชา ป้องกันแสงแดด
Note : - ส่วนประกอบเป็นสารมีพิษ ต้องระมัดระวังในการใช้
- สารระเหยของ Absolute Ethyl Alcohol เป็นสารไวไฟ
EDTA Solution
EDTA 14.30 g
Cetrimide 0.083 g
Sodium Hydroxide 1.00 g
Distilled Water q.s. 100.00 ml
Group : 12.3.3 Other Dental Preparations
Storage : เก็บในภาชนะที่ไม่เป็นโลหะหนัก
Note : - ไม่ให้ใช้ที่ผิวฟัน (tooth surface) เพราะอาจทำให้ฟันสูญเสียแคลเซียม (Tooth
Decalcification)
- ให้เตรียมใช้ขณะนั้นเลย (Freshly Prepared)
- ตำรับนี้ต้องระวังเกี่ยวกับน้ำที่ใช้ เพราะ EDTA เป็น Chealating Agent น้ำต้องบริสุทธิ์มาก ๆ
Fluocinolone Acetonide Gel
Fluocinolone Acetonide 0.18 g
Ethyl Alcohol 95% 1.82 ml
Propylene Glycol 45.45 ml
Polyethylene Glycol 400 36.36 ml
Paraben Conc 1.82 ml
Carboxymethylcellulose 1500 4.36 g
Glycerol (Glycerin) 14.55 ml
Hot Water 100.00 ml
Group : 12.3.3 Other Dental Preparations
Fluocinolone Acetonide Solution
Fluocinolone Acetonide 0.18 g
Ethyl Alcohol 95% 1.82 ml
Propylene Glycol 45.45 ml
Polyethylene Glycol 400 36.36 ml
Paraben Conc 1.82 ml
Carboxymethylcellulose 1500 0.91 g
Glycerol (Glycerin) 3.64 ml
Hot Water 100.00 ml
Group : 12.3.3 Other Dental Preparations
117
Formaldehyde and Cresol Solution
Synonyms : Cresolated Formaldehyde; Formocresol
Formocresol Conc
Formaldehyde (Formalin) 37-38 % 19.00 ml
Cresol 35.00 ml
Glycerol (Glycerin) 25.00 ml
Steriled Water 21.00 ml
ให้เก็บ Formocresol Conc ในขวดแก้วสีชา ก่อนนำมาใช้ให้เจือจางก่อนด้วย Glycerol และ Water
ใน อัตราส่วน Glycerol : Water : Formocresol Conc = 3:1:1 (240 ml : 80 ml : 80 ml)
Group : 12.3.1 Oropharyngeal Antiseptics
Storage : เก็บในภาชนะปิดสนิท ป้องกันแสงแดด
Note : - เตรียมยาใน Hood เนื่องจากมีส่วนประกอบของ Formaldehyde
- อันตรายของ Formaldehyde ไอระเหยจะทำให้ระคายเคืองตา จมูก ระบบทางเดินหายใจและอาจ
ทำให้เกิดการไอ กลืนลำบาก (Dysphagia) ทางเดินหายใจเกิดการหดเกร็งและบวม ปอดบวม หอบ
หากสารละลายที่เข้มข้นสูงๆ ถูกผิวหนังทำให้ผิวหนังขาวและแข็งด้าน ทำให้เกิดผื่นแพ้สัมผัสและ
อาการแพ้
- Glycerol ช่วยป้องกันการเกิดตะกอนที่เกิดจาก Polymerization ของ Formaldehyde เป็น
Solid Paraformaldehyde
Talbot’s Solution
Synonyms : Iodine and Zinc Iodide Glycerite
Zinc Iodide 4.00 g
Iodine, Crystal 3.00 g
Glycerol (Glycerin) 60.00 ml
Purified Water 40.00 ml
Group : 12.3.1 Oropharyngeal Antiseptics
Storage : เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท ป้องกันแสงและควรเก็บในที่เย็นเพราะ Iodine เป็นสารระเหิด
Whitehead’s Varnish
Synonyms : Compound Paint of Iodoform BPC.
Benzoin, powder 10.00 g
Iodoform 10.00 g
Storax (Styrax prepared) 7.50 g
Tolu Balsam 5.00 g
Diethyl Ether 100.00 ml
Group : 12.3.3 Other Dental Preparations
Storage : เก็บในภาชนะปิดสนิท ป้องกันแสงแดด และเก็บในตู้เย็น
118
Zinc Oxide+ Zinc Acetate Powder
Synonyms : Compound Zinc Oxide Cavity Bases
Zinc Acetate 1.00 g
Zinc Oxide Powder q.s. 100.00 g
Group : 12.3.3 Other Dental Preparations
Storage : เก็บในภาชนะปิดสนิท
119
2. สูตรตำรับของสารช่วยในเภสัชตำรับโรงพยาบาล
CREAM BASES
Non-ionic Buffered Cream Base
Cetostearyl Alcohol 10.00 g
Cetomacrogol 1000 3.00 g
White Soft Paraffin 10.00 g
Liquid Paraffin 10.00 g
Monobasic Sodium Phosphate
(Sodium Dihydrogen Phosphate)
2.50 g
Citric Acid, Monohydrate 0.50 g
EDTA 0.01 g
Propylene Glycol 5.00 ml
Chlorocresol 0.15 g
Purified Water q.s. 100.00 g
Note : ยามี pH 5-6
OINTMENT BASES
Hydrophilic Ointment Base
Stearyl Alcohol 25.00 g
White Soft Paraffin 25.00 g
Liquid Paraffin 10.00 g
Sodium Lauril Sulfate (Sodium Lauryl Sulfate) 1.00 g
Propylene Glycol 10.00 ml
Paraben Conc 1.00 ml
Purified Water q.s. 100.00 g
PRESERVATIVES
Paraben Conc
Methyl Hydroxybenzoate (Methylparaben) 10.00 g
Propyl Hydroxybenzoate (Propylparaben) 2.00 g
Propylene Glycol q.s. 100.00 ml
120
ภาคผนวก 3
แนวทางกำกับการใช้ยา บัญชี จ(2)
แนวทางกำกับการใช้ยา Botulinum A toxin
ข้อบ่งใช้โรคคอบิด (cervical dystonia) ชนิดไม่ทราบสาเหตุ (idiopathic)
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา botulinum A toxin จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) เฉพาะครั้งแรกและ
ครั้งที่สองของการสั่งใช้ยา โดยมีการลงทะเบียนทั้งแพทย์ และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
หมายเหตุ มีการอนุมัติ 2 ครั้ง เนื่องจากผู้ป่วยบางรายอาจไม่ตอบสนองต่อการรักษา ดังนั้นหลังการอนุมัติครั้งแรกให้แพทย์ผู้รักษา
บันทึกผลของการรักษา ยืนยันประโยชน์ของการรักษาด้วย botulinum A toxin ในผู้ป่วยนั้น เพื่อขออนุมัติการรักษาในครั้งถัดไป
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาประสาทวิทยาหรือเวชศาสตร์ฟื้นฟู ซึ่งปฏิบัติงานใน
สถานพยาบาลตามข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา botulinum A toxin ในโรคคอบิดโดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ผู้ป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรคคอบิดชนิดไม่ทราบสาเหตุ ด้วยเกณฑ์ดังต่อไปนี้
4.1.1 มีอาการบิดเกร็งของลำคอและใบหน้า ส่งผลให้ร่างกายส่วนนั้นมีรูปร่างที่ผิดปกติ
4.1.2 อาการค่อยเป็นค่อยไป ผู้ป่วยโดยส่วนใหญ่ (มากกว่า 50%) มักมีอาการปวดร่วมด้วย โดยเฉพาะในส่วนของ
กล้ามเนื้อที่บิดเกร็งบริเวณลำคอ
4.1.3 อาการบิดเกร็งไม่จำเป็นต้องเกิดตลอดเวลา อาจเป็นเพียงบางเวลาในช่วงแรกๆ โดยทั่วไป อาการจะค่อยๆ เพิ่มมาก
ขึ้นในช่วง 5 ปีแรก จนอาจส่งผลให้ผู้ป่วยบางรายมีลำคอบิดเกร็งตลอดเวลา
4.1.4 ไม่สามารถบังคับให้อาการเกร็งหายไปได้ แต่ผู้ป่วยบางรายอาจมีเทคนิคที่ทำให้อาการบิดเกร็งลดลงชั่วคราว ดังที่
เรียกว่า sensory tricks เช่น ใช้มือแตะที่บริเวณคางหรือส่วนหลังของคอ
4.1.5 อาการบิดเกร็งอาจเกิดขึ้นได้ในหลายทิศทาง ที่พบบ่อยสุด คืออาการบิดเกร็งที่ทำให้ใบหน้าและคางบิดออกไปทาง
ด้านข้าง ที่เรียกว่า torticollis แต่ผู้ป่วยอาจมีอาการบิดเกร็งของคอไปทางด้านหน้า ด้านหลัง หรืออาจเป็นใน
ลักษณะผสมหลายๆ ลักษณะได้
4.1.6 ผู้ป่วยบางรายอาจมีการเคลื่อนไหวผิดปกติอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น อาการสั่นของใบหน้าและลำคอ
4.1.7 ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 20 ปี
หมายเหตุ โรคคอบิดที่เกิดร่วมกับโรคทางระบบประสาทอื่นๆ หรือจากยาบางชนิด จัดเป็นกลุ่มโรคคอบิดชนิดที่ทราบสาเหตุ
(secondary cervical dystonia)
4.2 ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงระดับปานกลางขึ้นไป ด้วยเกณฑ์ดังต่อไปนี้
4.2.1 ระดับความรุนแรงน้อย ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการบิดเกร็งน้อยกว่า 20 องศา ออกจากแกนกลางของร่างกาย มีอาการ
ปวดไม่รุนแรง และมีอาการบิดเกร็งเพียงบางเวลา
121
4.2.2 ระดับความรุนแรงปานกลาง ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการบิดเกร็งระหว่าง 20-50 องศา ออกจากแกนกลางของร่างกาย
ร่วมกับมีอาการบิดเกร็งมากกว่าครึ่งหนึ่งของเวลาทำงาน และ/หรือมีอาการปวดที่มีความรุนแรงมากกว่า 5 จาก 10
(วัดด้วย visual analogue scale)
4.2.3 ระดับความรุนแรงมาก ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการบิดเกร็งมากกว่า 50 องศา ออกจากแกนกลางของร่างกาย ที่เกิดขึ้น
เกือบตลอดทั้งวัน ร่วมกับอาการปวดที่มีความรุนแรงมากกว่า 5 จาก 10 (วัดด้วย visual analogue scale)
4.3 ผู้ป่วยมีอาการที่ส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำวันและคุณภาพชีวิต
4.4 ให้การรักษาด้วยวิธีการอื่นแล้วไม่ได้ผล
4.5 อนุญาตให้ใช้ยาเฉพาะบริเวณลำคอเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ใช้ยาในบริเวณอื่น เช่น ใบหน้า ปาก หรือ ลำตัว
4.6 มีการประเมินผลการตอบสนองต่อการรักษาในสองครั้งแรก เพื่อขออนุมัติการใช้ยาระยะยาว กล่าวคือ ภายหลัง 1 เดือนจาก
การให้ยาครั้งแรก ผู้ป่วยควรมีอาการดีขึ้นอย่างน้อย 30% ถ้าผู้ป่วยไม่ตอบสนอง แพทย์อาจขออนุมัติให้ยาซ้ำอีก 1 ครั้ง ซึ่ง
ถ้าไม่ตอบสนองหลังการใช้ยา 2 ครั้ง ให้หยุดการใช้ยา และพิจารณาการรักษาในแนวทางอื่นๆ เช่น การผ่าตัด
4.7 กรณีที่ผู้ป่วยได้รับการอนุมัติการใช้ยาระยะยาวหลังจากผ่านเกณฑ์ในข้อ 4.6 แล้ว แต่ภายหลังพบว่าผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อ
การรักษา ให้หยุดการใช้ยา และพิจารณาการรักษาในแนวทางอื่นๆ เช่น การผ่าตัด
4.8 ขนาดยาต่อผู้ป่วย 1 ราย อนุมัติไม่เกิน 300 unit/ปี สำหรับยา Botox? และไม่เกิน 1,000 unit/ปี สำหรับยา Dysport?
4.9 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)?
4.10 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
ขนาดยาและความถี่ในการให้ยา
Botox? ขนาดยาเริ่มต้น 50-150 unit ต่อ 1 ครั้งการรักษา
Dysport? ขนาดยาเริ่มต้น 250-500 unit ต่อ 1 ครั้งการรักษา
หมายเหตุ ฉีดยาห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน เนื่องจากการฉีดยาก่อน 3 เดือน จะเร่งให้เกิด antibody ทำให้การรักษาล้มเหลวได้ใน
อนาคต
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวด และความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
122
แนวทางกำกับการใช้ยา Botulinum A toxin
ข้อบ่งใช้โรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีก (hemifacial spasm) ชนิดไม่ทราบสาเหตุ (idiopathic)
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา botulinum A toxin จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) เฉพาะครั้งแรก โดย
มีการลงทะเบียนทั้งแพทย์และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาประสาทวิทยา เวชศาสตร์ฟื้นฟู ประสาท-
ศัลยศาสตร์หรือจักษุวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา botulinum A toxin ในโรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีก โดยเกณฑ์ดังนี้
4.1 ผู้ป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีกชนิดไม่ทราบสาเหตุ ด้วยเกณฑ์ดังต่อไปนี้
4.1.1 มีอาการกระตุกขึ้นเอง เป็นๆ หายๆ ที่กล้ามเนื้อใบหน้าซึ่งเลี้ยงโดยเส้นประสาทใบหน้า (เส้นประสาทสมองที่ 7) ข้าง
หนึ่งข้างใดเพียงข้างเดียว ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการเคลื่อนไหวด้วยกันของกล้ามเนื้อใบหน้า (facial synkinesia)
4.1.2 อาการค่อยเป็นค่อยไป โดยเริ่มต้นกระตุกที่กล้ามเนื้อรอบตา (orbicularis oculi) ก่อน เมื่อเป็นมากขึ้น จะกระจาย
ไปที่แก้มและกล้ามเนื้อรอบปาก (orbicularis oris)
4.1.3 การกระตุกเป็นแบบสั้น รวดเร็วเป็นแล้วหยุด ที่เรียก clonic spasm และเมื่อเป็นมากขึ้นอาจมีอาการกระตุกแล้ว
เกร็งค้าง ทำให้ตาปิดหรือปากเบี้ยวค้างเป็นเวลาหลายวินาที ที่เรียก tonic spasm หรือในระหว่างที่เกร็งค้างแบบ
tonic มีการกระตุก clonic ขนาดเล็กๆ เกิดขึ้นไปพร้อมกัน ที่เรียก tonic-clonic spasm
4.1.4 ไม่สามารถบังคับให้กระตุกหรือหยุดกระตุกได้
4.1.5 โรคนี้มักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย 2.5 เท่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 45-60 ปี โดยมักมีอายุเฉลี่ย
50-54 ปี
หมายเหตุผู้ป่วยโรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีกที่มีรอยโรคที่ระบบประสาทส่วนปลาย หรือระบบประสาทส่วนกลาง จัดเป็นกลุ่มที่ทราบ
สาเหตุ (symptomatic hemifacial spasm)
4.2 ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงระดับปานกลางขึ้นไป ด้วยเกณฑ์ดังต่อไปนี้
4.2.1 ระดับความรุนแรงน้อย ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการกระตุกเฉพาะที่กล้ามเนื้อรอบตา (orbicularis oculi) ทำให้มีการ
กระตุกของเปลือกตาบน (eyelid contraction) เท่านั้น แต่ไม่มีการปิดลงมาของเปลือกตาบน
4.2.2. ระดับความรุนแรงปานกลาง ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการกระตุกที่กล้ามเนื้อรอบตา ทำให้หนังตาปิด ระหว่าง 10-50% ของ
ช่องการมองเห็น (palpebral fissure) หรือมีการกระตุกของตาและปากพร้อมกัน
4.2.3 ระดับความรุนแรงมาก ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการกระตุกที่กล้ามเนื้อรอบตา ทำให้หนังตาปิด ระหว่าง 50-100% ของช่อง
การมองเห็น (palpebral fissure) หรือมีการกระตุกแบบ tonic spasm
4.3 ผู้ป่วยมีอาการที่ส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำวันและคุณภาพชีวิต
4.4 ให้การรักษาด้วยวิธีการอื่นแล้วไม่ได้ผล
4.5 ไม่อนุมัติให้มีการใช้ยา botulinum A toxin ต่อไป และให้พิจารณาการรักษาในแนวทางอื่น เมื่อ
4.5.1 รักษาไปแล้ว 2 ครั้ง ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษา (ดูวิธีการประเมินผลตามข้อ 6)
4.5.2 ผู้ป่วยดื้อต่อการรักษา เช่น เกิด antibody ต่อยา
4.5.3 ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดแล้วได้ผล
123
4.6 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.7 ขนาดยาต่อผู้ป่วย 1 รายอนุมัติไม่เกิน 100 unit/ปี สำหรับยา Botox? และไม่เกิน 400 unit/ปี สำหรับยา Dysport?
4.8 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
ขนาดยาและความถี่ในการให้ยา
Botox? ขนาดยาเริ่มต้น 15-30 unit ต่อ 1 ครั้งการรักษา
Dysport? ขนาดยาเริ่มต้น 60-120 unit ต่อ 1 ครั้งการรักษา
หมายเหตุ ฉีดยาห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน เนื่องจากการฉีดยาก่อน 3 เดือน จะเร่งให้เกิด antibody ทำให้การรักษาล้มเหลวได้
ในอนาคต
6. การประเมินผลการรักษา
6.1 ประเมิน ณ เวลา 6 สัปดาห์ หลังให้ยา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเวลาที่ให้ผลการรักษาสูงสุด (peak improvement)
6.2 ใช้การประเมินแบบ subjective assessment โดยให้ผู้ป่วยประเมินเองว่าดีขึ้นมากน้อยเพียงใดเปรียบเทียบกับก่อนการ
รักษา โดยอาจวัดเป็นร้อยละ หรือวัดด้วย visual analogue scale เป็นต้น (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในคู่มือการใช้ยาอย่าง
สมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ)
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวด และความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
124
แนวทางกำกับการใช้ยา Liposomal amphotericin B
ข้อบ่งใช้โรค invasive fungal infections ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถทนต่อยา Conventional amphotericin B
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา liposomal amphotericin B จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์หลังการรักษา (post-authorization)
หมายเหตุ การอนุมัติก่อนการใช้ยา liposomal amphotericin B (pre-authorization) ควรดำเนินการต่อเมื่อมีความพร้อมในการ
อนุมัติภายใน 24 ชั่วโมง หรือมีการมอบอำนาจจากผู้อำนวยการสถานพยาบาลทำหน้าที่อนุมัติการใช้ยา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
3.1 เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขาอายุรศาสตร์โรคติดเชื้อ หรืออนุสาขา
อายุรศาสตร์โรคระบบการหายใจและภาวะวิกฤติโรคระบบการหายใจ หรืออนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคติดเชื้อ หรืออนุสาขา
กุมารเวชศาสตร์โรคระบบการหายใจ ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามข้อ 2
3.2 ในกรณีสถานพยาบาลในข้อ 2 ไม่มีแพทย์ตามข้อ 3.1 ให้ผู้อำนวยการโรงพยาบาลแต่งตั้งแพทย์ที่มีความรู้ความชำนาญ ใน
การใช้ยาดังกล่าวไม่เกิน 2 คน
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา liposomal amphotericin B ในโรค invasive fungal infections ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถทนต่อยา conventional
amphotericin B ได้ โดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ได้รับการวินิจฉัยแน่นอน (definite) ว่าเป็นโรค invasive fungal infections ซึ่งหมายถึงข้อใดข้อหนึ่งดังนี้
4.1.1 ตรวจพบเชื้อรารูปสาย (hyphae) หรือยีสต์ (yeast) และมีการทำลายเนื้อเยื่อร่วมด้วย โดยการตรวจทางกล้อง
จุลทรรศน์หรือทางพยาธิวิทยาหรือทางเซลล์วิทยาของสิ่งส่งตรวจที่ได้จากการตัดชิ้นเนื้อหรือการเจาะดูดจากตำแหน่งที่
ปราศจากเชื้อ (sterile site)
4.1.2 เพาะเชื้อขึ้นราสาย (mold) หรือยีสต์ จากสิ่งส่งตรวจที่ได้จากการตัดชิ้นเนื้อ หรือการเจาะดูดจากตำแหน่งที่ปราศจาก
เชื้อ (สำหรับราสายนั้น ยกเว้นที่ได้จาก bronchoalveolar lavage (BAL) โพรงไซนัส และปัสสาวะ) และมีอาการทาง
คลินิก หรือผลเอกซเรย์ที่เข้าได้กับการติดเชื้อ
4.1.3 เพาะเชื้อจากเลือดขึ้นราสายและมีข้อบ่งชี้ว่ามีก่อโรคติดเชื้อจริง หรือเพาะเชื้อจากเลือดขึ้นยีสต์
4.2 ได้รับการวินิจฉัยที่เป็นไปได้ (probable) ว่าเป็นโรค invasive fungal infections ซึ่งหมายถึงการวินิจฉัยที่ไม่ใช่แบบ
definite และประกอบด้วยองค์ประกอบต่อไปนี้ครบทุกข้อ
4.2.1 มีปัจจัยเสี่ยงด้านผู้ป่วย อย่างน้อย 1 ข้อได้แก่ มี neutrophil < 500/mm3 มากกว่า 10 วันในช่วงที่เริ่มเกิดโรค จากเชื้อรา หรือ ได้รับการปลูกถ่ายไขกระดูกแบบ allogeneic หรือ ได้สเตียรอยด์มากกว่า 0.3 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ต่อวัน ของ prednisolone ติดต่อกันมานานกว่า 3 สัปดาห์ หรือได้ยากดภูมิคุ้มกันเช่น ciclosporin, specific monoclonal antibody เช่น alemtuzumab ในช่วง 90 วันที่ผ่านมา หรือ มีโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องอย่าง รุนแรงแต่กำเนิด 4.2.2 มีอาการทางคลินิกที่เข้าได้กับการติดเชื้อรา ตัวอย่างเช่น กรณีปอดอักเสบ – มีความผิดปกติใน CT chest อย่างน้อย 1 อย่าง คือ dense well circumscribed lesion หรือ air-crescent sign หรือ cavity กรณีหลอดลมอักเสบ – มี ulcer, nodule, pseudomembrane, eschar หรือ plaque ใน trachea หรือ bronchus กรณีการติดเชื้อในโพรงไซนัสหรือจมูก – มีภาพรังสียืนยัน ร่วมกับอาการอย่างน้อย 1 อย่างคือ ปวดเฉพาะที่ แผลใน จมูกแบบ eschar หรืออาการลุกลามเข้ากระดูกใกล้เคียงรวมถึงกระบอกตา กรณีโรคในสมอง – มีอย่างน้อย 1 ใน 2 ข้อ คือ มีก้อนในสมอง หรือ มี enhancement ของเยื่อหุ้มสมองจาก MRI หรือ CT 125 4.2.3 มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่บ่งถึงการติดเชื้อรา เช่น พบเชื้อราสายในเสมหะ BAL bronchial brush หรือ sinus aspirate จากการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์หรือเพาะเชื้อขึ้น หรือ การตรวจ galactomannan ให้ผลบวก สำหรับ Aspergillus หรือ การตรวจ beta D glucan ให้ผลบวกสำหรับ invasive fungal infection อื่นๆ นอกเหนือจาก Cryptococcus และ Zygomycetes 4.3 ได้รับการวินิจฉัยว่าที่ไม่สามารถทนต่อยา conventional amphotericin B ซึ่งหมายถึงข้อใดข้อหนึ่งดังนี้ 4.3.1 ผู้ได้รับ conventional amphotericin B แล้ว serum creatinine สูงขึ้นมากกว่าก่อนให้ยาอย่างน้อย 2 เท่าและมีค่า > 3.0 mg/dL ทั้งนี้ผู้ป่วยควรจะมีค่า serum creatinine ก่อนและหลังให้ยาห่างกันอย่างน้อย 3 วัน และมีการเตรียม
ผู้ป่วยด้วยการให้ NSS ก่อนให้ยา conventional amphotericin B ด้วย
4.3.2 ในกรณีที่มีภาวะไตทำงานบกพร่องอยู่เดิม (หมายถึง ผู้ป่วยที่มีค่า serum creatinine > 2.0 mg/dL และไม่ได้ทำ
chronic dialysis อยู่) ได้รับ conventional amphotericin B แล้ว serum creatinine เพิ่มขึ้นจากเดิม > 1.0 mg/dL
4.3.3 มีผลข้างเคียงจากการให้ยา conventional amphotericin B ที่ไม่สามารถควบคุมด้วยวิธีการอื่นๆ ได้อย่างน้อย 3
วัน เช่น มีไข้ร่วมกับอาการหนาวสั่นมาก หรือมี refractory hypokalemia เป็นต้น
หมายเหตุในกรณีผู้ป่วยเด็ก (อายุ < 18 ปี) การพิจารณาค่า serum creatinine ให้อยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ 4.4 กรณีที่มีภาวะไตทำงานบกพร่องอยู่เดิมโดยค่า serum creatinine > 3.0 mg/dL ไม่ได้ทำ chronic dialysis อยู่ และไม่ได้
เป็น end stage renal disease ให้พิจารณาใช้ liposomal amphotericin B ได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ conventional
amphotericin B มาก่อน
4.5 อนุมัติการใช้ยาครั้งละไม่เกิน 7 วัน โดยต้องมีการประเมินผลการรักษา ณ วันที่ 3 และ 5 ของการให้ยาก่อนจะขออนุมัติใช้ยา
ครั้งถัดไป
4.6 ไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.7 มีการกรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่ใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
3-5 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน ให้ยาวันละ 1 ครั้ง ด้วยวิธีIV infusion ในเวลา 2 ชั่วโมง (ลดลงเหลือ 1 ชั่วโมงได้
หากผู้ป่วยทนยาได้ดี)
6. ระยะเวลาในการรักษา
6.1 กรณีผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษาโดยสมบูรณ์ ระยะเวลาของการรักษามีเกณฑ์ดังนี้
6.1.1 กรณี candidemia หรือกรณีfungemia ให้ได้นานไม่เกิน 14 วันหลังผลเพาะเชื้อในเลือดเป็นลบ (โดยทั่วไปผลเพาะ
เชื้อในเลือด มักเป็นลบภายใน 7 วัน หลังให้ยารักษา)
6.1.2 กรณี deep organ infection ให้ได้จนกว่าอาการทางคลินิกหายไปและรอยโรคในภาพรังสีหายไป หรือเหลือน้อยที่สุด
โดยทั่วไปประมาณ 4-12 สัปดาห์
หมายเหตุในกรณีที่สามารถเปลี่ยนเป็นยาต้านเชื้อราแบบกินได้ จะต้องเปลี่ยนให้เร็วที่สุด
6.2 ควรหยุดยา liposomal amphotericin B เมื่อ
6.2.1 สามารถใช้ยาต้านเชื้อราชนิดอื่นในการรักษาได้ผลไม่แตกต่างกันหรือดีกว่า เช่น ดูจากผลเพาะเชื้อ
6.2.2 ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาภายใน 7 วันหลังให้ยา ซึ่งหมายถึงข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
? มีการดำเนินโรคต่อเนื่อง (persistent) เช่น ผลเพาะเชื้อในกระแสเลือดขึ้นเชื้อตลอด
? อาการทางคลินิกรุนแรงมากขึ้น หรือภาพรังสีแสดงความผิดปกติมากขึ้นโดยไม่สามารถอธิบายได้ด้วยสาเหตุ
อื่น
? ทราบว่าเชื้อดื้อต่อยา liposomal amphotericin B จากผลเพาะเชื้อ
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
126
แนวทางกำกับการใช้ยา Leuprorelin acetate
ข้อบ่งใช้ภาวะ central (gonadotrophin dependent) precocious puberty
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา leuprorelin acetate จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) การอนุมัติแต่ละครั้ง
มีระยะเวลา 12 เดือน เมื่อครบกำหนดให้ขออนุมัติใหม่ทุกครั้ง โดยขออนุมัติในกำหนดเวลาไม่เกิน 30 วัน หลังจากวันครบกำหนด
เนื่องจากมีผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ป่วย โดยมีการลงทะเบียนทั้งแพทย์และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ซึ่งมีความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการวินิจฉัยและติดตามผลการรักษา
2.2 กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้างต้น ให้สถานพยาบาลแจ้งความประสงค์ต่อหน่วยงานกำกับ
ดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) เพื่อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีๆ ไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตะ-บอลิ
สม ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา leuprorelin acetate ในภาวะ central (gonadotrophin dependent) precocious puberty โดยมีเกณฑ์
ต่อไปนี้ครบทุกข้อ
4.1 ผู้ป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็น central precocious puberty ที่มีการพัฒนาทางเพศทุติยภูมิ (secondary sex
characteristics) ก่อนอายุ 8 ปีในเด็กหญิง หรือก่อนอายุ 9 ปีในเด็กชาย
4.2 มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการครบทุกข้อ ดังต่อไปนี้
4.2.1 ระดับ luteinizing hormone (LH) มีระดับสูงเหมือนเด็กเริ่มเข้าสู่วัยหนุ่มสาว (pubertal LH level) กล่าวคือ มี
basal LH มากกว่า 0.3-0.5 IU/L หรือ peak LH หลังกระตุ้นด้วย gonadotrophin-releasing hormone (GnRH)
มากกว่า 6 IU/L (ICMA) หรือมากกว่า 10 IU/L (RIA) หรือระดับ LH/FSH หลังกระตุ้นด้วย GnRH มากกว่า 1
4.2.2 อายุกระดูกล้ำหน้าอายุจริง กล่าวคือ มีอายุมากกว่า 1.0 SD ของอายุตามปฏิทิน อย่างรวดเร็วภายใน 6-12 เดือน
4.2.3 ผลการทำ MRI ของสมองและต่อมใต้สมอง โดยพิจารณาทำ MRI ในเด็กชายทุกรายและเด็กหญิงที่เริ่มมีอาการเมื่ออายุ
ต่ำกว่า 7 ปี หรือเด็กหญิงที่เริ่มมีอาการเมื่ออายุมากกว่า 7 ปี และตรวจร่างกายพบสิ่งผิดปกติ
หมายเหตุอาจเพิ่มผลการตรวจอื่นได้ตามความจำเป็นเช่น ultrasound pelvis ในเพศหญิง
4.3 อายุที่เริ่มใช้ยา leuprorelin acetate ในเด็กหญิงไม่มากกว่า 11 ปี หรือเด็กชายไม่มากกว่า 12 ปี
4.4 ไม่เป็นผู้ป่วยที่มารับการรักษาช้ามาก กล่าวคือ อายุกระดูกมากกว่า 12.5 ปีในเด็กหญิง หรือมากกว่า 14 ปีในเด็กชาย
เนื่องจากยังไม่มีหลักฐานยืนยันว่าการใช้ยาในขณะที่อายุกระดูกเจริญมากแล้ว จะช่วยให้ความสูงสุดท้ายเพิ่มขึ้น
4.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.6 มีการกรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่ใช้ยากับผู้ป่วย??
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
127
5. ขนาดยาที่แนะนำ
5.1 ขนาดยาที่แนะนำให้ใช้ 100-150 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม IM หรือ SC ทุก 4 สัปดาห์
5.2 หลังจากใช้ยาไปแล้ว 3-6 เดือน หากขนาดยาดังกล่าวไม่สามารถลดระดับฮอร์โมนลงได้ (peak LH หลังฉีดยา 1-2 ชั่วโมง
ควรน้อยกว่า 4-5 IU/L) ให้ปรับขนาดยาเพิ่มได้จนถึง 300 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ทุก 4 สัปดาห์
6. ระยะเวลาในการรักษา
6.1 ระยะเวลาการรักษาไม่สามารถกำหนดได้แน่นอน ผู้ป่วยแต่ละรายใช้ระยะเวลาการรักษาไม่เท่ากัน โดยให้ขออนุมัติการใช้ยา
จากหน่วยงานกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) ทุก 1 ปี
6.2 การหยุดยา leuprorelin acetate ให้พิจารณาอายุกระดูกเป็นหลัก คือให้หยุดยาเมื่ออายุกระดูก (bone age) 13 ปี ขึ้นไป
ในเด็กหญิง หรือ 14 ปีครึ่ง ขึ้นไปในเด็กชาย โดยอายุจริง (chronological age) ควรมากกว่า 9 ปี ขึ้นไปในเด็กหญิง และ
มากกว่า 10 ปีขึ้นไปในเด็กชาย (เนื่องจากต้องพิจารณาในด้านความพร้อมของร่างกาย หรือ maturity ของเด็กด้วย)
128
แนวทางกำกับการใช้ยา Docetaxel
ข้อบ่งใช้ มะเร็งเต้านมระยะลุกลาม
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา docetaxel จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) ทุกครั้ง โดยมีการลงทะเบียน
ทั้งแพทย์ และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ที่มีความพร้อมในการวินิจฉัย และรักษาโรค
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา
หรืออนุสาขาศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา docetaxel ในโรคมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม โดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ใช้เป็นยาสูตรที่สองหลังจากใช้ยา anthracycline ไม่ได้หรือไม่ได้ผล
4.2 ผู้ป่วยต้องอยู่ในสภาพร่างกายดีพอสมควร คือมี Eastern Co-operation Oncology Group (ECOG) performance
status ตั้งแต่ 0 ถึง 2 (หรือมี ECOG 0-2) ดังรายละเอียดด้านล่าง
ECOG PERFORMANCE STATUS SCALE
SCALE DESCRIPTION OF SCALE
0 ASYMPTOMATIC
NORMAL ACTIVITY.
1 SYMPTOMATIC ; AMBULATORY
ABLE TO CARRY OUT ACTIVITY OF DAILY LIVING.
2 SYMPTOMATIC ; IN BED LESS THAN 50% OF THE DAY;
OCCASIONALLY NEED NURSING CARE.
3 SYMPTOMATIC ; IN BED MORE THAN 50% OF THE DAY ;
NEED NURSING CARE.
4 BED RIDDEN
MAY NEED HOSPITALISATION.
4.3 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.4 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
ขนาดยาที่เหมาะสมสำหรับคนไทยคือ 75 มิลลิกรัมต่อพื้นที่ผิว 1 ตารางเมตร (ขนาดยาโดยทั่วไปคือ 60-100 มิลลิกรัมต่อพื้นที่ผิว
1 ตารางเมตร) ให้ยาทางหลอดเลือดดำโดยใช้เวลานานกว่า 1 ชั่วโมง (หยุดยาทันทีที่มีผลข้างเคียงรุนแรงเกิดขึ้น) ให้ยาเป็น cycle ห่าง
กันครั้งละ 3 สัปดาห์
ควรให้ dexamethasone เป็น pre-medication ในผู้ป่วยทุกรายเพื่อลดอุบัติการณ์และความรุนแรงของภาวะคั่งน้ำ (fluid
retention) และแอนาฟิแล็กซิส
หมายเหตุ การให้ยาในขนาดสูงมีผลต่อ tumor response แต่ไม่มีผลต่อ TTP (time to tumor progression) และ overall
survival โดยมีอุบัติการณ์ของผลข้างเคียงที่เพิ่มขึ้น
6. ระยะเวลาในการรักษา
6.1 ให้ยาจนผู้ป่วยมี maximum response (ก้อนเนื้อมะเร็งไม่ยุบต่อไปอีกแล้ว) แล้วให้เพิ่มอีก 1-2 cycle
6.2 กรณีที่ผู้ป่วยตอบสนองต่อยาได้ดี ควรจะหยุดยา (drug holiday) หลังได้รับยาครบ 6-8 cycle แล้วให้ยาใหม่เมื่อโรคกลับมา
ใหม่ หรือลุกลามมากขึ้น
6.3 ให้ใช้ยา 6-8 cycle
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
129
แนวทางกำกับการใช้ยา Docetaxel
ข้อบ่งใช้ มะเร็งปอดชนิด non-small cell ระยะลุกลาม
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา docetaxel จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) ทุกครั้ง โดยมีการลงทะเบียน
ทั้งแพทย์ และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ที่มีความพร้อมในการวินิจฉัย และรักษาโรค
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา
หรืออนุสาขาศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา docetaxel ในโรคมะเร็งปอดชนิด non-small cell ระยะลุกลาม โดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ใช้เป็นยาสูตรที่สองหลังจากใช้ยา platinum ไม่ได้หรือไม่ได้ผล
4.2 ผู้ป่วยต้องอยู่ในสภาพร่างกายดีมาก คือมี Eastern Co-operation Oncology Group (ECOG) performance status
ตั้งแต่ 0 ถึง 1 (หรือมี ECOG 0-1) ดังรายละเอียดด้านล่าง
ECOG PERFORMANCE STATUS SCALE
SCALE DESCRIPTION OF SCALE
0 ASYMPTOMATIC
NORMAL ACTIVITY.
1 SYMPTOMATIC ; AMBULATORY
ABLE TO CARRY OUT ACTIVITY OF DAILY LIVING.
2 SYMPTOMATIC; IN BED LESS THAN 50% OF THE DAY ;
OCCASIONALLY NEED NURSING CARE.
3 SYMPTOMATIC ; IN BED MORE THAN 50% OF THE DAY ;
NEED NURSING CARE.
4 BED RIDDEN
MAY NEED HOSPITALISATION.
4.3 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.4 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
60-75 มิลลิกรัมต่อพื้นที่ผิว 1 ตารางเมตร ให้ยาทางหลอดเลือดดำโดยใช้เวลานานกว่า 1 ชั่วโมง (หยุดยาทันทีที่มีผลข้างเคียง
รุนแรงเกิดขึ้น) ให้ยาเป็น cycle ห่างกันครั้งละ 3 สัปดาห์
ควรให้ dexamethasone เป็น pre-medication ในผู้ป่วยทุกรายเพื่อลดอุบัติการณ์และความรุนแรงของภาวะคั่งน้ำ (fluid
retention) และแอนาฟิแล็กซิส
หมายเหตุการให้ยาในขนาดสูงกว่าที่แนะนำเพิ่มผลข้างเคียงและอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย
6. ระยะเวลาในการรักษา
6.1 โดยทั่วไปแนะนำให้ใช้ยา 4 cycle
6.2 ให้ใช้ยาได้สูงสุดไม่เกิน 6 cycle
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
130
แนวทางกำกับการใช้ยา Docetaxel
ข้อบ่งใช้ มะเร็งต่อมลูกหมากระยะแพร่กระจาย
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา docetaxel จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) ทุกครั้ง โดยมีการลงทะเบียน
ทั้งแพทย์ และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ที่มีความพร้อมในการวินิจฉัย และรักษาโรค
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา
หรืออนุสาขาศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา docetaxel ในโรคมะเร็งต่อมลูกหมากระยะแพร่กระจาย โดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ใช้ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาฮอร์โมนแล้ว
4.2 ให้ใช้ร่วมกับ prednisolone
4.3 ผู้ป่วยต้องอยู่ในสภาพร่างกายดีมาก คือมี Eastern Co-operation Oncology Group (ECOG) performance status
ตั้งแต่ 0 ถึง 1 (หรือมี ECOG 0-1) ดังรายละเอียดด้านล่าง
ECOG PERFORMANCE STATUS SCALE
SCALE DESCRIPTION OF SCALE
0 ASYMPTOMATIC
NORMAL ACTIVITY.
1 SYMPTOMATIC; AMBULATORY
ABLE TO CARRY OUT ACTIVITY OF DAILY LIVING.
2 SYMPTOMATIC; IN BED LESS THAN 50% OF THE DAY ;
OCCASIONALLY NEED NURSING CARE.
3 SYMPTOMATIC ; IN BED MORE THAN 50% OF THE DAY ;
NEED NURSING CARE.
4 BED RIDDEN
MAY NEED HOSPITALISATION.
4.4 ภายหลังหยุดยาหากโรคลุกลาม ไม่แนะนำให้ใช้ยาอีก
4.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.6 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
60-75 มิลลิกรัมต่อพื้นที่ผิว 1 ตารางเมตร ให้ยาทางหลอดเลือดดำโดยใช้เวลานานกว่า 1 ชั่วโมง (หยุดยาทันทีที่มีผลข้างเคียง
รุนแรงเกิดขึ้น) ให้ยาเป็น cycle ห่างกันครั้งละ 3 สัปดาห์ โดยให้ร่วมกับ prednisolone 5 มิลลิกรัม ให้ยาทางปากวันละ 2 ครั้ง ทุก
วันตลอดช่วงของการรักษา
ควรให้ dexamethasone เป็น pre-medication ในผู้ป่วยทุกรายเพื่อลดอุบัติการณ์ความรุนแรงของภาวะคั่งน้ำ (fluid
retention) และแอนาฟิแล็กซิส
หมายเหตุการให้ยาบ่อยกว่าที่แนะนำไม่เพิ่มอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วย
6. ระยะเวลาในการรักษา
ให้ใช้ยาได้สูงสุดไม่เกิน 6 cycle
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
131
แนวทางกำกับการใช้ยา Imatinib mesilate
ข้อบ่งใช้ chronic myelogenous leukemia (CML) ระยะ chronic stable phase
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา imatinib mesilate จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) ทุกครั้ง โดยมีการ
ลงทะเบียนทั้งแพทย์และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ที่มีความพร้อมในการวินิจฉัยและรักษาโรคดังนี้
? สามารถตรวจหา Philadelphia chromosome t(9;22)(q34;q11) ด้วยวิธี quantitative chromosome study ได้
? สามารถตรวจ chromosomal cytogenetic ด้วยวิธีมาตรฐาน หรือด้วย real-time quantitative PCR (RQ-PCR)
หรือ fluorescence in situ hybridization (FISH) ที่มีมาตรฐานได้
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์โรคเลือดซึ่งปฏิบัติงานใน
สถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา imatinib mesilate ในโรค CML โดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ผู้ป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็น CML ในระยะ chronic stable phase โดยต้องตรวจพบข้อหนึ่งข้อใดดังต่อไปนี้
4.1.1 มี Philadelphia chromosome positive โดยการตรวจด้วยวิธี quantitative chromosome study หรือ
4.1.2 มี BCR-ABL gene positive โดยการตรวจด้วยวิธี polymerase chain reaction (PCR) หรือ fluorescence in
situ hybridization (FISH)
4.2 ไม่อนุมัติให้มีการใช้ยา imatinib mesilate ต่อไป และให้พิจารณาการรักษาในแนวทางอื่น เมื่อ
4.2.1 ไม่ได้ complete hematologic response ใน 6 เดือน หรือ
4.2.2 ไม่ได้ major cytogenetic response ใน 12 เดือน หรือ
4.2.3 ไม่ได้ complete cytogenetic response ใน 18 เดือน
เกณฑ์การพิจารณา cytogenetic response ให้ใช้วิธีการตรวจ metaphase จาก chromosome analysis เท่านั้น กรณีที่ผล
การตรวจไม่มี metaphase สามารถให้ยาต่อไปได้ไม่เกิน 3 เดือน และต้องตรวจซ้ำ หากยังไม่สามารถตรวจได้ ให้หยุดยา
4.3 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.4 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
132
5. ขนาดยาที่แนะนำ
5.1 400 มิลลิกรัมต่อวัน
5.2 ไม่อนุมัติให้ใช้ยา imatinib mesilate ในขนาดเกิน 400 มิลลิกรัมต่อวัน
6. การประเมินผลการรักษา
ผู้ป่วยที่ได้ complete cytogenetic response ควรทำการตรวจ chromosome ทุก 6 เดือน ถ้ามีการกลับคืนของ
Philadelphia chromosome โดยที่ผลเลือด CBC อยู่ในเกณฑ์ปกติ สามารถให้ยาต่อไปได้อีก 3 เดือน และตรวจหา Philadelphia
chromosome ซ้ำ ซึ่งถ้ายังไม่ได้complete cytogenetic response ให้หยุดยา imatinib mesilate
หมายเหตุ ในกรณีที่มีการตรวจ RQ-PCR ที่ได้มาตรฐาน สามารถใช้แทนการตรวจ cytogenetic ทุก 6 เดือนได้แต่ให้มีการตรวจ
cytogenetic ทุก 12 เดือน ร่วมด้วย กรณีที่ผลการตรวจไม่มี metaphase สามารถให้ยาต่อได้ไม่เกิน 3 เดือน และต้องตรวจซ้ำ หาก
ยังไม่สามารถตรวจได้ ให้หยุดยา
133
แนวทางกำกับการใช้ยา Imatinib mesilate
ข้อบ่งใช้ gastrointestinal stromal tumors (GISTs) ระยะลุกลามหรือมีการกระจายของโรค
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา imatinib mesilate จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) ทุกครั้ง โดยมีการ
ลงทะเบียนทั้งแพทย์ และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ที่มีความพร้อมในการวินิจฉัย และรักษาโรค โดยสามารถวัดขนาดของเนื้องอกได้ด้วยรังสี
วินิจฉัยที่แม่นยำ เช่น computerized tomography (CT) หรือ magnetic resonance imaging (MRI)
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา หรืออนุสาขาศัลยศาสตร์
มะเร็งวิทยาซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา imatinib mesilate ในโรค GISTs โดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ผู้ป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็น GISTs (gastrointestinal stromal tumors) ที่มี Kit (CD117) ให้ผลบวก
4.2 เป็นโรคระยะลุกลามที่ผ่าตัดไม่ได้ หรือมีการกระจายของโรค
4.3 ไม่อนุมัติให้มีการใช้ยา imatinib mesilate ต่อไป และให้พิจารณาการรักษาในแนวทางอื่น เมื่อมี progressive disease
อย่างชัดเจน
4.4 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.5 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
5.1 400 มิลลิกรัมต่อวัน
5.2 ไม่อนุมัติให้มีการใช้ยา imatinib mesilate เกินกว่าขนาดที่แนะนำ (400 มิลลิกรัมต่อวัน) แม้ว่าการให้ยาไม่ได้ผลหรือโรค
ลุกลามขึ้นขณะให้ยาที่ 400 มิลลิกรัมต่อวัน
6. การประเมินผลการรักษา
6.1 ประเมินผลการรักษาทุก 12 สัปดาห์ ด้วยรังสีวินิจฉัยที่สามารถวัดขนาดของเนื้องอกได้ เช่น computerized tomography (CT)
หรือ magnetic resonance imaging (MRI)
6.2 ควรระบุผลการตอบสนองด้วย SWOG (south west oncology group) หรือ RECIST (response evaluation criteria in
solid tumor) criteria ว่าเป็น
ก. โรคหายไปหมด (complete) หรือ
ข. รักษาหายไปบางส่วน (partially response) หรือ
ค. คงที่ (stable) ตาม SWOG (Southwest Oncology Group) หรือ RECIST criteria
6.3 ในกรณีที่ผลการตรวจทางรังสีวิทยาพบว่ามีรอยโรคขนาดใหญ่ขึ้นเพียงตำแหน่งเดียว (ไม่เกิน 25%) ในขณะที่ตำแหน่งอื่นเล็ก
ลง หรือคงที่ แพทย์ผู้รักษาสามารถพิจารณาหยุดยา หรือให้ยาต่ออีก 2 เดือน และทำการตรวจซ้ำเพื่อความชัดเจนว่าเป็น
stable disease หรือ progressive disease
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
134
แนวทางกำกับการใช้ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ข้อบ่งใช้ โรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน (acute phase of Kawasaki disease)
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
1.1 กรณีโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ ภายหลังการรักษา (postauthorization)
เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กเล็ก มักมาด้วยอาการฉุกเฉิน และจำเป็นต้องได้รับยาอย่างทันท่วงทีมิฉะนั้น
อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
1.2 กรณีโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลันที่ดื้อต่อการรักษาด้วย IVIG ในครั้งแรก ให้ขออนุมัติจากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ ก่อนการ
ให้ยา IVIG ซ้ำอีก 1 ครั้ง (pre-authorization)
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ที่สามารถทำการตรวจ echocardiogram ได้หรือ
2.2 กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิ ต้องเป็นสถานพยาบาลที่สามารถส่งต่อเพื่อรับการตรวจ echocardiogram ได้ใน
โรงพยาบาลเครือข่ายภายในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์นับจากวันที่ให้การวินิจฉัยโรค โดยให้สถานพยาบาลแจ้งความประสงค์ต่อ
หน่วยงานกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) เพื่อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่ง
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขากุมารเวชศาสตร์
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา IVIG ในโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน ในกรณีดังต่อไปนี้
4.1 สามารถวินิจฉัยโรคได้ครบถ้วนตามเกณฑ์ของคาวาซากิ โดยมีอาการและอาการแสดงดังต่อไปนี้
4.1.1 มีไข้ติดต่อกันอย่างน้อย 5 วัน
4.1.2 มีอาการแสดงอย่างน้อย 4 ใน 5 อย่าง ดังนี้
? เยื่อตาส่วนลูกตา (bulbar) แดงที่ตาทั้งสองข้างโดยไม่มีขี้ตา
? มีการเปลี่ยนแปลงของริมฝีปากและเยื่อบุช่องปากโดยมีริมฝีปากแดง มีรอยแยกที่ริมฝีปาก ลิ้นเป็นตุ่มและมีสี
แดงคล้ายผลสตรอเบอรี่หรือมีคอหอยแดงอย่างชัดเจน
? มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังบริเวณมือและเท้า โดยมีฝ่ามือหรือฝ่าเท้าแดง มือหรือเท้าบวม (ในระยะเฉียบพลัน)
ซึ่งต่อมาจะมีการลอกของผิวหนังบริเวณรอบๆ เล็บมือหรือเล็บเท้า (ในระยะพักฟื้นหรือระยะกึ่งเฉียบพลันที่
สัปดาห์ที่2 และ 3 ของโรค)
? มีผื่นผิวหนังลักษณะหลายรูปแบบ (polymorphous rash)
? คลำพบต่อมน้ำเหลืองบริเวณลำคอ โดยมีขนาดโตกว่า 1.5 เซนติเมตร และมักคลำพบเพียงด้านใดด้านหนึ่งของ
ลำคอ
4.1.3 ได้รับการวินิจฉัยแยกโรคที่มีอาการคล้ายกันออกแล้ว ได้แก่ โรคติดเชื้อไวรัส (เช่น measles, adenovirus,
enterovirus, Epstein-Barr virus), scarlet fever, staphylococcal scalded skin syndrome, toxic
shock syndrome, bacterial cervical lymphadenitis, drug hypersensitivity reactions, Stevens-
Johnson syndrome, juvenile rheumatoid arthritis, Rocky mountain spotted fever, leptospirosis,
mercury hypersensitivity reaction (acrodynia)
4.2 วินิจฉัยโรคได้ไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ของคาวาซากิ (incomplete Kawasaki disease) แต่มีการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการที่เข้าได้กับโรค ตามเกณฑ์ของ American Heart Association และ American Academy of
Pediatrics (AHA/AAP guidelines) ได้แก่ข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
4.2.1 มีค่า ESR > 40 mm/hour และ/หรือ CRP > 3 mg/dL ร่วมกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นพบความ
ผิดปกติตั้งแต่3 ข้อขึ้นไป ได้แก่
135
? ALT สูงกว่า2.5 เท่าของค่าปกติ
? WBC count > 15,000/mm3
? มีภาวะโลหิตจาง (เมื่อเทียบกับอายุของผู้ป่วย)
? platelet count > 450,000/mm3 (ไข้มากกว่า 7 วัน)
? การตรวจปัสสาวะพบเม็ดเลือดขาว > 10/HPF
? serum albumin < 3g/dL 4.2.2 ตรวจพบความผิดปกติของ echocardiogram 4.3 กรณีโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลันที่ดื้อต่อการรักษาด้วย IVIG ในครั้งแรก พิจารณาให้ IVIG ซ้ำได้อีก 1 ครั้งเท่านั้น (ใช้ขนาดยาและวิธีการให้ยาตามข้อ 5) โดยมีเกณฑ์การวินิจฉัยดังต่อไปนี้ ? ลักษณะทางคลินิกและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการยังคงเข้าได้กับโรคคาวาซากิ ? ยังตรวจไม่พบสาเหตุอื่นๆ ของไข้ ? หลังจากการให้ IVIG dose แรกเสร็จสิ้นไปแล้วนานกว่า 36 - 48 ชั่วโมงผู้ป่วยยังคงมีไข้อยู่ 4.4 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ? 4.5 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่ใช้ยากับผู้ป่วย?? 5. ขนาดยาและวิธีการให้ยา ให้ยาในขนาด 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อครั้ง โดยการให้ยาเพียงครั้งเดียว (single dose) ภายในระยะ 10 วันหลังจากที่ เริ่มมีไข้ เนื่องจากมีหลักฐานว่าการให้ยาเกินกว่าระยะเวลาดังกล่าวไม่ให้ประโยชน์ในการรักษา ให้ยาด้วยวิธี continuous drip โดย เริ่มให้ยาในขนาด 0.6 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง และเพิ่มอัตราครั้งละเท่าตัวทุก 30 นาที (ขนาดสูงสุดไม่เกิน 4.8 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง) จนได้อัตราที่ให้IVIG ได้หมดใน 12 ชั่วโมง 6. การติดตามผลการรักษา 6.1 ขณะให้ยาควรบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ใน 2 ชั่วโมงแรก หลังจากนั้นถ้าไม่พบความผิดปกติให้บันทึกทุก 1 ชั่วโมง 6.2 ให้สังเกตการเกิดผื่น และการหายใจ ถ้ามีอาการผิดปกติให้หยุดการให้ยา และรักษาอาการแพ้ 6.3 ผู้ป่วยโรคคาวาซากิทุกรายที่ยังไม่ได้รับการตรวจ echocardiogram ณ วันที่วินิจฉัยโรค ต้องได้รับการตรวจ echocardiogram ภายในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์ 6.4 ควรทำ echocardiogram ซ้ำที่ 2 เดือน หลังเริ่มป่วย ? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ ?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) 136 แนวทางกำกับการใช้ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) ข้อบ่งใช้ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ (primary immunodeficiency diseases) 1. ระบบอนุมัติการใช้ยา ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ดังนี้ 1.1 กรณี Post- Authorization กรณีเมื่อผู้ป่วยมาด้วยภาวะฉุกเฉินและจำเป็นต้องได้รับยาในทันที มิเช่นนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้ (life-threatening) ให้ขอ อนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ภายหลังการรักษา พร้อมแนบรายงานการใช้ IVIG โดยเร็วที่สุด 1.2 กรณี Pre-Authorization สำหรับในกรณีที่ไม่ใช่ภาวะฉุกเฉิน เช่น การให้เพื่อการรักษาตามปกติ (Replacement Therapy) จะต้องมีการลงทะเบียน ผู้ป่วยไว้ล่วงหน้ากับหน่วยงานสิทธิประโยชน์ และก่อนได้รับยาในครั้ง (course) ต่อไป ให้ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงาน สิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา เนื่องจากผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องได้รับยาในทันที ยกเว้นในรายที่มีอาการรุนแรง และฉุกเฉินควรทำตาม แบบ post-authorization แล้วจึงแจ้งให้หน่วยงานสิทธิประโยชน์ทราบภายหลังการรักษา 2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล 2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิ ที่มีแพทย์ผู้วินิจฉัยตามคุณสมบัติที่ระบุไว้ในข้อ 3 2.2 เป็นสถานพยาบาลที่สามารถรับคำปรึกษาจากแพทย์ที่มีคุณสมบัติของแพทย์ผู้วินิจฉัยตามที่ระบุไว้ในข้อ 3 โดยให้ สถานพยาบาลแจ้งความประสงค์ต่อหน่วยงานกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) เพื่อขออนุมัติและลงทะเบียน สถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป 3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา สถานพยาบาลจำเป็นต้องใช้ยาโดยแพทย์ผู้มีความพร้อมในการใช้ยานี้ทั้งในแง่ความสามารถในการวินิจฉัยโรค การใช้ยาให้ตรง ตามข้อบ่งใช้ การระมัดระวังอันตรายจากยา และการติดตามผลการรักษา ได้แก่ 3.1 เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคติดเชื้อ หรืออนุ สาขากุมารเวชศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน หรืออนุสาขาอายุรศาสตร์โรคติดเชื้อ หรืออนุสาขาอายุรศาสตร์โรคภูมิแพ้ และภูมิคุ้มกันทางคลินิก หมายเหตุผู้ป่วยควรพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญผู้ให้การวินิจฉัย ทุก 3-6 เดือน 3.2 แพทย์ในสาขาอื่นที่ผู้อำนวยการโรงพยาบาลมอบหมาย ซึ่งสามารถรับคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้การรักษา ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน หรือเป็นการรักษาตามปกติแบบต่อเนื่องโดยมีหนังสือส่งตัวจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 4. เกณฑ์การวินิจฉัยโรค ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิอาจมีอาการทางคลินิกที่หลากหลาย การวินิจฉัยโรคอาจคลาดเคลื่อนได้หากไม่ได้รับการ ยืนยันด้วยผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม ร่วมกับการตรวจพบลักษณะทางคลินิกบางประการที่ช่วยให้วินิจฉัยแยกโรคได้ อย่างแม่นยำ เกณฑ์การวินิจฉัยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิประกอบด้วย 4.1 อาการแสดงทางคลินิก (clinical presentation) 4.1.1 มีภาวะติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ และระบบอื่นๆ ได้บ่อย เช่น ปอดอักเสบ หูอักเสบ ไซนัสอักเสบ การติดเชื้อ ในทางเดินอาหาร สมองติดเชื้อ การติดเชื้อบริเวณผิวหนัง การติดเชื้อของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งอาจรุนแรง ถึงขั้นติดเชื้อในกระแสเลือด โดยมี spectrum ของเชื้อดังแสดงไว้ในตารางที่ 1 4.1.2 การตรวจร่างกายที่ช่วยในการวินิจฉัยโรค คืออาจพบน้ำหนักตัวน้อย อาจตรวจไม่พบต่อมน้ำเหลืองหรือต่อมทอนซิล 4.1.3 มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สนับสนุนการวินิจฉัยโรค ดังแสดงไว้ในตารางที่ 2 137 ตารางที่ 1 spectrum ของเชื้อที่มักเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ A. Bacterial respiratory tract and gastrointestinal infections ? Haemophilus influenzae ? Streptococcus pneumoniae ? Staphylococcus aureus ? Neisseria meningitidis ? Pseudomonas aeruginosa ? เชื้ออื่นๆ ที่อาจพบได้ คือ Mycoplasma, Campylobacter, Ureaplasma urealyticum B. Enterovirus ? Echovirus เป็น virus สำคัญที่พบบ่อย ? Coxsackie virus A และ B ? Poliovirus C. Opportunistic organism เช่น Pneumocystis jirovecii (Pneumocystic carinii) ตารางที่ 2 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สนับสนุนการวินิจฉัยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ A. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็นในการวินิจฉัยครั้งแรก ? Complete blood count (CBC) ? Quantitative serum immunoglobulin (IgG, IgA, IgM) levels B. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ควรพิจารณาในการวินิจฉัยครั้งแรก เช่น ? CD marker เช่น CD3, CD4, CD8 (T cells), CD19 or CD20 (B cells), CD16/56 (NK cells) ? Serum IgE level ? IgG subclasses ? T cell function ? Antigen specific antibody response 4.2 เกณฑ์การวินิจฉัยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิแต่ละชนิด 4.2.1 Common Variable Immunodeficiency (CVID) Male or female, one of major isotypes (IgM, IgG, and IgA) < 2 SD mean for age and all of the following criteria 1. Onset > 2 years of age
2. Absent isohemagglutinin and/or poor response to vaccine
3. Defined causes of hypogammaglobulinemia have been excluded
4.2.2 Severe Combined Immunodeficiency (SCID)
Male or female < 2 years of age with either 1. < 20% CD3+T cells, an absolute lymphocyte count < 3,000/mm3 and proliferative responses to mitogen less than 10% of control or 2. The presence of maternal lymphocytes in the circulation 138 4.2.3 DiGeorge anomaly Male or female with CD3+T cells < 1,500/mm3 and at least one of the following: 1. Cardiac defect 2. Hypocalcemia of greater than 3 weeks duration that requires therapy 3. Dysmorphic facies or palatal abnormalities 4.2.4 X-linked agammaglobulinemia (XLA or Bruton's agammaglobulinemia) Male patients with less than 2% CD19+ B cells in whom other causes of hypogammaglobulinemia have been excluded and at least one of the following criteria: 1. Onset of recurrent bacterial infections in the first 5 years of life 2. Serum IgG, IgM, and IgA more than 2 SD below normal for age 3. Absence of isohemagglutinins 4.2.5 Autosomal recessive agammaglobulinemia Male or female patients with less than 2% CD19+ B cells in whom other causes of hypogammaglobulinemia have been excluded and at least one of the following criteria: 1. Onset of recurrent bacterial infections in the first 5 years of life 2. Serum IgG, IgM, and IgA more than 2 SD below normal for age 3. Absence of isohemagglutinins 4.2.6 X-linked hyper-IgM syndrome Male patient with serum IgG concentration < 2 SD below normal for age, normal number of T cells and B cells and one or more of the following: 1. Serum IgM concentration at least 2 SD above normal for age 2. Pneumocystis jiroveci in the first year of life 3. Parvovirus-induced aplastic anemia 4. Cryptosporidium-related diarrhea 5. Severe liver disease (sclerosing cholangitis) 4.2.7 Autosomal recessive hyper-IgM syndrome Male or female patient with serum IgG and IgA concentration < 2 SD below normal for age, serum IgM concentration at least 2 SD above normal for age, normal number of T cells and B cells, and lymphadenopathy 4.2.8 Ataxia telangiectasia Male or female with progressive cerebellar ataxia and at least one of the following 1. Ocular or facial telangiectasia 2. Serum IgA < 2 SD normal for age 3. Alpha fetoprotein > 2 SD
4. Increased chromosomal breakage after exposure to irradiation
4.2.9 Wiskott-Aldrich syndrome
Male patient with congenital thrombocytopenia (less than 70,000/mm3), small platelets, or male
patient splenectomized for thrombocytopenia, and at least one of the following
1. Eczema
2. Abnormal antibody response to polysaccharide antigens
139
3. Recurrent bacterial or viral infections
4. Autoimmune diseases
5. Lymphoma, leukemia, or brain tumors
4.2.10 X-linked lymphoproliferative syndrome (XLP)
Male patient experiencing death, lymphoma/Hodgkin disease, immunodeficiency, aplastic anemia
or lymphohistiocytic disorder following acute EBV infection
4.2.11 Isolated IgG subclass deficiency
All of the following
1. Reduction in one or more of IgG subclass (value below 2 SD for age appropriate level)
2. No other cause of other primary immunodeficiency can be identified
4.2.12 IgA with IgG subclass deficiency
All of the following
1. Reduced IgA (value below 2 SD for age appropriate level)
2. Reduction in one or more of IgG subclass (value below 2 SD for age appropriate level)
3. No other cause of other primary immunodeficiency can be identified
4.2.13 Specific antibody deficiency with normal Ig concentrations and numbers of B cells
All of the following
1. Abnormal antibody response to vaccine
2. No other cause of other primary immunodeficiency can be identified
4.2.14 Reticular dysgenesis
All of the following without other cause such as malignancy or drug
1. Markedly decreased T cells
2. Decreased or normal B cells
3. Decreased serum Immunoglobulin
4. Granulocytopenia
5. Thrombocytopenia
4.2.15 Omenn syndrome
All of the following
1. Normal or decreased B cells
2. Decreased serum immunoglobulin
3. Elevated serum IgE
4. Erythroderma
5. Eosinophilia
6. Adenopathy
7. Hepatosplenomegaly
4.2.16 Thymoma with immunodeficiency (Good syndrome)
All of the following
1. Thymoma
2. Decreased numbers of B cells
3. Decreased serum immunoglobulin
140
4.2.17 Transient hypogammaglobulinemia of infancy
At least criteria number 1-4 at the initial diagnosis
1. Age < 2 years old 2. Decreased serum IgG and IgA 3. Normal numbers of B cells 4. No other cause of other primary immunodeficiency can be identified 5. Recovery after 2 years of age 4.2.18 Cartilage hair hypoplasia All of the following 1. Normal or decreased numbers of T cells 2. Normal or decreased numbers of B cells 3. Short-limbed dwarfism with metaphyseal dysostosis 4. Sparse hair 5. Anemia 6. Neutropenia 4.2.19 Hyper-IgE syndrome (sporadic or autosomal dominant form) At least criteria number 1-4 1. serum IgE > 2,000 IU/mL or more than 2 SD normal for age
2. Staphylococcal skin abscess
3. Pneumonia and pneumatocoele
4. Disorders of bone, joint, and teeth such as osteoporosis, hyperextensible joint, scoliosis, retain
primary teeth
5. Candidiasis
6. Facial features such as broad nasal bridge, and facial asymmetry
4.2.20 WHIM syndrome
All of the following
1. Hypogammaglobulinemia
2. Decreased B cells
3. Severe neutropenia
4. Warts or human papilloma virus infection
หมายเหตุเกณฑ์การวินิจฉัยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิแต่ละชนิดตามข้อ 4.2 ดัดแปลงจาก
1. Diagnostic criteria for primary immunodeficiencies by Pan-American Group for Immunodeficiency (PAGID)
and European Society for Immunodeficiencies (ESID) Clin Immunol 1999;93:190-97.
2. Classification of primary immunodeficiency by Primary Immunodeficiency Diseases Classification
Committee, The International Union of Immunological Societies. J Allergy Clin Immunol 2006;117:883-96.
โปรดให้ความสนใจ การใช้ยาโดยขาดการวินิจฉัยโรคที่แม่นยำจัดเป็นการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล สถานพยาบาลอาจไม่ได้รับการ
ชดเชยยาหากไม่ระบุการวินิจฉัยโรคตามข้อ 4.2 ข้อใดข้อหนึ่งให้กับผู้ป่วย
141
5. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ IVIG ในโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ (primary immunodeficiency diseases) ด้วยเกณฑ์ดังนี้
5.1 ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ (primary immunodeficiency diseases) ประเภทใด
ประเภทหนึ่งดังนี้ โดยมีการระบุชื่อโรคอย่างชัดเจนตามตารางที่ 3
5.1.1 ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิประเภทที่ขาด B cell เช่น X-linked agammaglobulinemia, severe
combined immunodeficiency
5.1.2 ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิประเภทที่มีปริมาณ immunoglobulin ต่ำ และมีความผิดปกติในการสร้าง
specific antibody เช่น common variable immunodeficiency, hyper-IgM syndrome
5.1.3 ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิประเภทที่มีปริมาณ immunoglobulin ปกติ แต่มีความผิดปกติในการสร้าง
specific antibody เช่น Wiskott-Aldrich syndrome, hyper-IgE syndrome, specific antibody deficiency
5.1.4 ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิประเภทที่มีปริมาณ immunoglobulin subclass ผิดปกติ ร่วมกับมีการติดเชื้อ
บ่อยๆ หรือมีความผิดปกติในการสร้าง specific antibody
5.2 ไม่ใช่ผู้ป่วยที่มีภาวะ selective IgA deficiency เนื่องจากไม่มีข้อบ่งชี้ และอาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยเนื่องจากเกิดภาวะแอ
นาฟิแล็กซิสได้ง่ายจากการใช้ IVIG
5.3 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
5.4 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
ตารางที่ 3 รายชื่อโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิแต่ละชนิด ที่ต้องได้รับการระบุในแบบฟอร์มขออนุมัติการใช้ยา
01 Common variable immunodeficiency
02 Severe combined immunodeficiency (SCID)
03 DiGeorge anomaly
04 X-linked agammaglobulinemia (XLA or Bruton's agammaglobulinemia)
05 Autosomal recessive agammaglobulinemia
06 X-linked hyper-IgM syndrome
07 Autosomal recessive hyper-IgM syndrome
08 Ataxia-telangiectasia and diseases of DNA repair defects
09 Wiskott-Aldrich syndrome
10 X-linked lymphoproliferative syndrome (XLP)
11 Isolated IgG subclass deficiency
12 IgA with IgG subclass deficiency
13 Specific antibody deficiency with normal Ig concentrations and numbers of B
cells
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
142
ตารางที่ 3รายชื่อโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิแต่ละชนิด ที่ต้องได้รับการระบุในแบบฟอร์มขออนุมัติการใช้ยา(ต่อ)
14 Reticular dysgenesis
15 Omenn syndrome
16 Thymoma with immunodeficiency (Good syndrome)
17 Transient hypogammaglobulinemia of infancy
18 Cartilage hair hypoplasia
19 Hyper- IgE syndrome
20 WHIM syndrome
6. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
เริ่มด้วย 400-600 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อครั้ง ทุก 2-4 สัปดาห์ จากนั้นปรับระดับให้ได้ IgG trough level มากกว่า
500 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร หรือ มากกว่า 800 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร กรณีที่มี bronchiectasis หรือการติดเชื้อที่รุนแรง
หมายเหตุยาแต่ละบริษัทอาจมีวิธีการให้ยาที่แตกต่างกัน โปรดอ่านวิธีให้ยาจากเอกสารกำกับยาก่อนให้ยา
7. ระยะเวลาในการรักษา
ขึ้นอยู่กับชนิดของโรคและดุลยพินิจของแพทย์ผู้วินิจฉัย โดยประเมินว่าผู้ป่วยมีความจำเป็นต้องใช้ IVIG ต่อเนื่องหรือไม่ เช่นกรณี
IgG subclass deficiency อาจพิจารณาหยุดการให้ IVIG หลังการรักษา 6 เดือน ถึง 1 ปี สำหรับผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่องที่ได้รับการ
รักษาด้วยการปลูกถ่ายไขกระดูก ควรให้แพทย์ผู้วินิจฉัยหรือแพทย์ผู้ทำการรักษาเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นในการหยุดการให้ IVIG
ตามมาตรฐานการรักษา
143
แนวทางกำกับการใช้ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ข้อบ่งใช้ โรค idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP) ชนิดรุนแรง
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมา
ด้วยอาการฉุกเฉิน และจำเป็นต้องได้รับยาอย่างทันท่วงทีมิฉะนั้นอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป
2.2 กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิที่มีความพร้อมในการวินิจฉัยและติดตามผลการรักษา ให้สถานพยาบาลแจ้งความ
ประสงค์ต่อหน่วยงานกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) เพื่อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์โรคเลือด หรืออนุสาขาโลหิตวิทยาและ
มะเร็งในเด็ก ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา IVIG ในโรค idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP) ชนิดรุนแรง โดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ผู้ป่วยแต่ละรายอนุมัติให้ใช้ยา IVIG ได้ไม่เกิน 2 กรัมต่อกิโลกรัม ต่อการรับไว้ในโรงพยาบาล 1 ครั้ง และไม่ให้ยาซ้ำในการ
รักษาคราวเดียวกัน
4.2 เป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค ITP ที่มีอาการรุนแรง โดยมีเกณฑ์ครบถ้วนทุกข้อดังนี้
4.2.1 มีเลือดออกผิดปกติที่เกิดจากจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ
4.2.2 มีisolated thrombocytopenia ร่วมกับมีจำนวน megakaryocyte ในไขกระดูกปกติ
4.2.3 ไม่มีสาเหตุอื่นๆ ของจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ เช่น ติดเชื้อ ยา เป็นต้น
4.2.4 เป็นไปตามเกณฑ์ในข้อ 4.3 absolute indication หรือในข้อ 4.4 relative indication ข้อใดข้อหนึ่ง
4.3 กรณีมี absolute indication โดยผู้ป่วยโรค ITP มีอาการรุนแรง เป็นไปตามเกณฑ์ครบถ้วนทุกข้อดังนี้
4.3.1 ไม่ใช้ IVIG เป็นยาขนานแรก และไม่ใช้ IVIG เป็นยาเดี่ยวในการรักษา โดยให้ IVIG ร่วมกับเกล็ดเลือด และ
คอร์ติโคสเตอรอยด์
4.3.2 มีจำนวนเกล็ดเลือดน้อยกว่า 20,000/mm3
4.3.3 มีภาวะเลือดออกรุนแรงที่คุกคามต่อชีวิต ได้แก่ ภาวะเลือดออกในอวัยวะสำคัญ เช่น สมอง ปอด ช่องท้อง ช่องอก
และทางเดินอาหาร
4.3.4 ใช้ยา IVIG ภายหลังการให้การรักษามาตรฐาน แล้วไม่ตอบสนองต่อการรักษา เช่น anti-Rho (D) immune globulin,
คอร์ติโคสเตรอยด์ หรือเกล็ดเลือดร่วมกับคอร์ติโคสเตรอยด์นาน 3-7 วันยังคงมีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำมากหรือมีจำนวน
ลดลง
144
4.4 กรณีมี relative indication โดยผู้ป่วยโรค ITP ที่จำเป็นต้องได้รับการตัดม้าม โดยมีเกณฑ์ครบถ้วนทุกข้อดังนี้
4.4.1 มีจำนวนเกล็ดเลือดน้อยกว่า 50,000/mm3 ก่อนการผ่าตัด
4.4.2 ได้รับ คอร์ติโคสเตรอยด์ และ anti-Rho (D) immune globulin แล้ว แต่ไม่สามารถเพิ่มจำนวนเกล็ดเลือดให้
มากกว่า 50,000/mm3 ได้
4.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.6 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
เด็กและผู้ใหญ่ ให้ยาในขนาด 400 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 2-5 วัน หรือ ให้ยาในขนาด 1 กรัมต่อ
น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 2 วัน โดยเริ่มให้ยาในขนาด 0.6 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง และเพิ่มอัตราครั้ง
ละเท่าตัวทุก 30 นาที (ขนาดสูงสุดไม่เกิน 4.8 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง) จนได้อัตราที่ให้ IVIG ได้หมดใน
8-12 ชั่วโมง ให้ยาซ้ำครั้งที่สอง 24 ชั่วโมงหลังการให้ยาครั้งแรก
หมายเหตุผู้ป่วยหลังการตัดม้าม ไม่จัดอยู่ในเกณฑ์การอนุมัติการใช้ยา IVIG
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
145
แนวทางกำกับการใช้ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ข้อบ่งใช้autoimmune hemolytic anemia (AIHA) ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาตามขั้นตอนของมาตรฐานการรักษา และมี
อาการรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมา
ด้วยอาการฉุกเฉิน และจำเป็นต้องได้รับยาอย่างทันท่วงทีมิฉะนั้นอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป
2.2 กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิที่มีความพร้อมเป็นไปตามเกณฑ์ ให้สถานพยาบาลแจ้งความประสงค์ต่อหน่วยงาน
กำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) เพื่อขออนุมัติ และลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์หรืออายุรศาสตร์โรคเลือด ซึ่ง
ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ IVIG ในโรค autoimmune hemolytic anemia (AIHA) เมื่อครบตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้
4.1 ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค AIHA ตามเกณฑ์ครบทุกข้อต่อไปนี้
4.1.1 เป็นภาวะโลหิตจางชนิด acquired hemolytic anemia
4.1.2 ตรวจร่างกายพบอาการแสดงของโลหิตจาง ดีซ่าน อาจมีตับและม้ามโต
4.1.3 ตรวจสเมียร์เลือด พบ spherocyte, polychromasia และ nucleated red blood cell
4.1.4 ตรวจ direct Coombs’ test ให้ผลบวก ร่วมกับการเพิ่มขึ้นของ reticulocyte count และการตรวจพบ bilirubin
ในปัสสาวะ (indirect bilirubin เพิ่มสูงขึ้นในเลือด)
4.2 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาตามขั้นตอนของมาตรฐานการรักษา ได้แก่ ไม่ตอบสนองต่อ corticosteroid และการให้เลือด
4.3 มีอาการรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต ได้แก่ unstable angina กล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด (myocardial
infarction) หัวใจวาย และ stroke
4.4 ไม่เป็นผู้ป่วยเด็ก เนื่องจากไม่มีหลักฐานสนับสนุน และเด็กส่วนใหญ่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วย IVIG แม้ให้ยาในขนาดสูง
มาก (เช่น 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เป็นเวลา 5 วัน) แล้วก็ตาม
4.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.6 มีการกรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่ใช้ยากับผู้ป่วย??
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
146
5. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
400 – 500 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 4-5 วัน หรือ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 2
วัน ขนาดรวมไม่เกิน 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม และไม่อนุมัติให้ใช้ยาซ้ำในการรักษาคราวเดียวกัน
ให้ยาด้วยวิธีหยดเข้าหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มให้ยาในขนาด 0.6 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง (30
มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง) และเพิ่มอัตราครั้งละเท่าตัวทุก 30 นาที ขนาดสูงสุดไม่เกิน 4.8 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1
กิโลกรัมต่อชั่วโมง (240 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง) และหยดเข้าหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่องจนยาหมด
หากให้ยาด้วยวิธีข้างต้นโดยใช้ยาในขนาดสูงสุดคือ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ยาจะหมดในเวลาประมาณ 5-6 ชั่วโมง
หมายเหตุยาแต่ละบริษัทอาจมีวิธีการให้ยาที่แตกต่างกัน โปรดอ่านวิธีให้ยาจากเอกสารกำกับยาก่อนให้ยา
6. การติดตามผลการรักษา
6.1 ขณะให้ยาควรวัดชีพจร และความดันโลหิต ทุก 15 นาที ใน 2 ชั่วโมงแรก หลังจากนั้นถ้าไม่พบความผิดปกติให้บันทึกทุก 1
ชั่วโมง จนสิ้นสุดการให้ IVIG แล้ว 60 นาที
6.2 ให้สังเกตการเกิดผื่น และการหายใจ ถ้ามีอาการผิดปกติให้หยุดการให้ยา และรักษาอาการแพ้
6.3 หากเกิดอาการข้างเคียง เช่น มีอาการเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หรือคลื่นไส้อาเจียน ให้แก้ไขโดยการลดอัตราการให้ยาลงร้อยละ
25-50
147
แนวทางกำกับการใช้ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ข้อบ่งใช้ โรค Guillain–Barr? syndrome ที่มีอาการรุนแรง
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
เนื่องจากการใช้ IVIG ให้ใช้เฉพาะเมื่อผู้ป่วยมาด้วยภาวะฉุกเฉิน เช่น severe type, progressive weakness หรือมี acute
respiratory failure จำเป็นต้องได้รับยาในทันที (ไม่นานเกิน 1-2 วัน) มิเช่นนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้ (Life-threatening) จึงควร
กำหนดให้ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ภายหลังการรักษา (post-authorization)
หมายเหตุควรมีระบบการอนุมัติการใช้ยาภายในโรงพยาบาล (pre-authorization) เนื่องจากไม่ได้เป็นโรคที่เป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องให้
ในทันที อาจรอปรึกษาใน 24-48 ชั่วโมงก่อนได้
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ที่มีคุณสมบัติในการดูแลผู้ป่วย Guillain – Barr? syndrome ที่สำคัญได้แก่ ICU ที่มี
respiration care ยาที่จำเป็น และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญตามที่กำหนด
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาประสาทวิทยา หรืออนุสาขากุมารเวชศาสตร์
ประสาทวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค Guillain–Barr? syndrome โดยมีลักษณะทางคลินิกครบถ้วนดังต่อไปนี้
4.1 อาการ อาการแสดงและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ต้องมี ได้แก่
4.1.1 แขน และขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง
4.1.2 ไม่มี deep tendon reflexes (areflexia) หรือมีการตอบสนองที่ลดลงของข้อเข่าหรือ biceps
4.1.3 มีการดำเนินโรคในช่วงเวลาหลายวัน โดยมีอาการตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงรุนแรงที่สุดไม่เกิน 4 สัปดาห์
4.1.4 cerebrospinal fluid (CSF) analysis พบปริมาณของโปรตีนเพิ่มขึ้น โดยพบเซลล์น้อยกว่า 10 เซลล์ต่อมิลลิลิตร
(บางครั้งการเพิ่มขึ้นของโปรตีนอาจตรวจไม่พบจนเข้าปลายสัปดาห์ที่สองของโรค)
4.2 อาการ อาการแสดงและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สนับสนุนการวินิจฉัย ได้แก่
4.2.1 อาการอ่อนแรงมีลักษณะค่อนข้าง symmetry
4.2.2 มี sensory symptoms หรือ signs เล็กน้อย
4.2.3 มีการอ่อนแรงของอวัยวะที่ควบคุมโดยเส้นประสาทสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้าทั้งสอง
ซีก ซึ่งเป็นชนิด LMN
4.2.4 หลังการดำเนินโรคสิ้นสุดลงแล้ว 2-4 สัปดาห์ ผู้ป่วยจะมีอาการเริ่มดีขึ้น
4.2.5 มี autonomic dysfunction
4.2.6 ไม่มีไข้ขณะเริ่มมีอาการ
4.2.7 กล้ามเนื้อส่วนปลายอาจอ่อนแรงมากกว่า หรือเท่ากับส่วนต้น
4.2.8 พบลักษณะ electrodiagnostic features ที่ตรงแบบ (typical) ดังต่อไปนี้
- slow nerve conduction velocity หรือ conduction block
- พบ normal หรือ small compound muscle action potentials
- absent or prolonged F-waves
- acute denervation หรือ decreased recruitment / interference pattern
หมายเหตุผลการตรวจขึ้นกับช่วงเวลาที่ทำการตรวจ electrodiagnostic test
148
5. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ IVIG ในโรค Guillain–Barr? syndrome ที่มีอาการรุนแรง ด้วยเกณฑ์ดังนี้
5.1 ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค Guillain–Barr? syndrome ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคในข้อ 4
5.2 ผู้ป่วยต้องมีอาการรุนแรง ซึ่งหมายถึงอาการหายใจล้มเหลวหรือมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงขั้นรุนแรงร่วมด้วย (เช่น ต้อง ใช้
อุปกรณ์ช่วยในการเดิน) หรือมีอาการเลวลงอย่างรวดเร็ว
5.3 อนุมัติให้ใช้ IVIG ได้ไม่เกิน 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อการรับไว้ในโรงพยาบาล 1 ครั้ง โดยอนุมัติในรายที่สามารถให้
IVIG ภายใน 2 สัปดาห์หลังจากผู้ป่วยเริ่มมีอาการทางคลินิก
5.4 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
5.5 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
6. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
ขนาดยาที่แนะนำ คือ 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อการรับไว้ในโรงพยาบาล 1 ครั้ง แบ่งให้ 2-5 วัน (เช่น 0.4 กรัมต่อ
น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน นาน 5 วัน) ให้ยาด้วยวิธีcontinuous drip และต้องได้รับ IVIG ภายใน 2 สัปดาห์หลังจากเริ่มมีอาการ
ทางคลินิก
7. ข้อสังเกต
? ประสิทธิผลของ IVIG เทียบเท่ากับ plasma exchange
? การให้สเตียรอยด์ ร่วมกับ IVIG หรือ plasma exchange พบว่าไม่มีประโยชน์
? การให้ IVIG ร่วมกับ plasma exchange พบว่าไม่มีประโยชน์มากกว่าอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
149
แนวทางกำกับการใช้ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ข้อบ่งใช้ โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤต
(myasthenia gravis, acute exacerbation หรือ myasthenic crisis)
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากเป็นโรคฉุกเฉินและ
จำเป็นต้องให้ยาในทันทีมิฉะนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไปที่มีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาประสาทวิทยาหรืออนุสาขากุมารเวชศาสตร์
ประสาทวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ IVIG ในโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤตเท่านั้น (ไม่อนุมัติให้ใช้ในโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายในระยะ
อื่น) โดยมีเกณฑ์ดังนี้
4.1 ผู้ป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤต อย่างชัดเจนโดยมีประวัติ อาการและอาการ
แสดงดังต่อไปนี้
4.1.1 มีการหายใจล้มเหลวซึ่งมีสาเหตุจากกะบังลมหรือกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงอ่อนแรง
4.1.2 มีอาการแสดงทางคลินิกข้อใดข้อหนึ่งดังนี้
4.1.2.1 มีหนังตาตก เห็นภาพซ้อน หรือการกลอกตาผิดปกติ (oculomotor disturbance)
4.1.2.2 มีอาการที่เกี่ยวเนื่องกับเส้นประสาทสมอง เช่น อัมพาตใบหน้าครึ่งซีก (facial palsy) หรือ bulbar
weakness
4.1.2.3 มี generalized weakness หรือ proximal muscle weakness
4.1.2.4 มี fluctuation of weakness
4.1.3 มีประวัติหรือมีผลทางห้องปฏิบัติการข้อใดข้อหนึ่งดังนี้
4.1.3.1 มีบันทึกในประวัติว่าเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้าย(MG)
4.1.3.2 repetition nerve stimulation (RNS) test ให้ผลบวก
4.1.3.3 prostigmine test ให้ผลบวก
4.1.3.4 single-fiber electromyography (SFEMG) ให้ผลบวก
4.2 อนุมัติให้ใช้ยา IVIG ได้ไม่เกิน 2 กรัมต่อกิโลกรัม ต่อการรับไว้ในโรงพยาบาล 1 ครั้ง โดยอาจให้ยา 1 หรือ 1.2 กรัมต่อ
กิโลกรัมก่อนในวันแรก ถ้าไม่ได้ผลจึงให้ต่อจนครบ 2 กรัมต่อกิโลกรัม หลังการรักษาภาวะฉุกเฉิน แพทย์ควรให้การรักษาโรค
ด้วยวิธีการอื่นที่เหมาะสมต่อไป
150
4.3 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.4 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
ให้ยา IVIG ในขนาด 1-1.2 กรัมต่อกิโลกรัม เป็นเวลา 1 วัน แล้วประเมินผลการรักษา หากไม่ได้ผล จึงให้ต่ออีกจนครบ 2 กรัมต่อ
กิโลกรัม โดยมีวิธีการบริหารยาดังนี้
5.1 ให้ยา IVIG 0.4 กรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 3 วัน หากไม่ได้ผลจึงพิจารณาให้ต่ออีก 2 วัน จนครบ 2 กรัมต่อกิโลกรัม
(ขนาดยารวม 1.2 กรัมต่อกิโลกรัม มีประสิทธิผลเท่ากับ 2 กรัมต่อกิโลกรัม)
5.2 1 กรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 1 วัน หากไม่ได้ผลจึงพิจารณาให้ต่ออีก 1 วัน จนครบ 2 กรัมต่อกิโลกรัม (ขนาดยารวม
1 กรัมต่อกิโลกรัม มีประสิทธิผลเท่ากับ 2 กรัมต่อกิโลกรัม)
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
151
แนวทางกำกับการใช้ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ข้อบ่งใช้ โรค pemphigus vulgaris ที่มีอาการรุนแรง และไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็น
ผู้ป่วยหนัก อาการฉุกเฉินเร่งด่วน และจำเป็นต้องได้รับยาในทันทีมิเช่นนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
สถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาตจวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการ
อนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค pemphigus vulgaris โดยมีลักษณะทางคลินิกครบถ้วนดังต่อไปนี้
4.1 อาการ และอาการแสดงเข้าได้กับโรค pemphigus vulgaris
4.2 มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สนับสนุนการวินิจฉัย ข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
? histopathology พบลักษณะทางพยาธิวิทยาเข้าได้กับโรค pemphigus vulgaris
? direct immunofluorescence study ให้ผลบวกว่ามี IgG หรือ C3 ติดอยู่ที่ช่องว่างระหว่างเซลล์keratinocyte
(Intercellular space)
? indirect immunofluorescence study ให้ผลบวก anti-intercellular antibody
? enzyme link immunosorbent assay (ELISA) สำหรับ desmoglein 1 และ 3 ให้ผลบวกชนิดหนึ่งชนิดใด หรือ
ทั้งสองชนิด
5. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ IVIG ในโรค pemphigus vulgaris ที่มีอาการรุนแรง ด้วยเกณฑ์ดังนี้
5.1 ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค pemphigus vulgaris ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคในข้อ 4
5.2 ผู้ป่วยต้องมีอาการรุนแรง ซึ่งหมายถึงมีพื้นที่รอยโรค (body surface area involvement) > 30% ของพื้นที่ผิวกาย
5.3 มีความจำเป็นต้องใช้ IVIG เนื่องจากไม่สามารถใช้ยาอื่นได้ ซึ่งหมายถึงข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
5.3.1 ไม่สามารถควบคุมโรคได้ด้วยยา prednisolone 1 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน ร่วมกับยากดภูมิคุ้มกัน
เช่น cyclophosphamide หรือ azathioprine ในขนาด 100 มิลลิกรัมต่อวัน เมื่อให้ยาติดต่อกันนาน 6 สัปดาห์
5.3.2 ไม่สามารถใช้การรักษาที่ใช้อยู่ได้ เนื่องจากผลข้างเคียงของยาหรือพิษของยาที่ใช้อยู่ เช่น โรคติดเชื้อที่รุนแรง
เบาหวานที่ควบคุมได้ไม่ดี โรคกระดูกพรุนจนยุบตัวลง การกดไขกระดูก
5.3.3 มีข้อห้ามใช้ยากลุ่ม immunosuppressive drugs
152
5.4 หากควบคุมโรคได้อนุมัติให้ใช้ IVIG ได้ไม่เกิน 6 cycle แต่ถ้าให้ยาครบ 3 cycle แล้วยังควบคุมโรคไม่ได้ให้พิจารณาหยุดยา
5.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
5.6 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
6. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
ขนาดยาที่แนะนำ คือ 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อ cycle แบ่งให้ในเวลา 3 วัน โดย 1 cycle มีระยะเวลา 3-4 สัปดาห์ ถ้า
ให้ 3 cycle แล้วยังควบคุมโรคไม่ได้ให้พิจารณาหยุดยา หากควบคุมโรคได้และไม่มีรอยโรคใหม่นาน 3 สัปดาห์แล้ว ให้ค่อย ๆ ลดขนาด
ยาลง หรือให้ยาในระยะเวลาที่ห่างออกไป รวมทั้งหมดไม่เกิน 6 cycle แล้วพิจารณาเปลี่ยนไปใช้ยาอื่น
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
153
แนวทางกำกับการใช้ยา Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ข้อบ่งใช้ hemophagocytic lymphohistiocytosis (HLH)
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมา
ด้วยอาการฉุกเฉิน และจำเป็นต้องได้รับยาในทันทีมิเช่นนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขาโลหิตวิทยาและมะเร็งในเด็ก หรืออนุสาขากุมาร
เวชศาสตร์โรคติดเชื้อ
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
การใช้ IVIG ในโรค hemophagocytic lymphohistiocytosis (HLH) ชนิดรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตมีข้อกำหนดดังนี้
4.1 ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค HLH โดยต้องมีการตรวจพบครบถ้วนทั้ง 4 ข้อต่อไปนี้
4.1.1 มีไข้
4.1.2 ม้ามโต
4.1.3 Cytopenia มากกว่า หรือ เท่ากับ 2 cell lines (โดยมีอย่างน้อย 2 ใน 3 ข้อต่อไปนี้)
? Hemoglobin < 9 g/dL (อายุน้อยกว่า 4 สัปดาห์ Hb < 12 g/dL) ? Absolute neutrophil <1 100="100" 4.1.4="4.1.4" 4.1.5="4.1.5" fasting="fasting" hemophagocytosis="hemophagocytosis" hlh="hlh" hypertriglyceridemia="hypertriglyceridemia" hypofibrinogenemia="hypofibrinogenemia" platelet="platelet" triglyceride="triglyceride"> 2 mmol/L
? Fibrinogen < 1.5 g/L 4.1.6 Serum ferritin > 500 ?g/L
4.1.7 Soluble interleukin-2 receptor (sCD25) > 2,400 U/mL
4.1.8 Natural killer cell activity ต่ำ หรือ ไม่มี
4.2 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.3 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
154
แนวทางกำกับการใช้ยา Letrozole
ข้อบ่งใช้ มะเร็งเต้านมที่มี hormone receptor เป็นบวก
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา letrozole จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) เฉพาะครั้งแรก โดยมีการ
ลงทะเบียนทั้งแพทย์และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป
หมายเหตุ กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิที่มีความพร้อมในการรักษามะเร็งเต้านม ให้สถานพยาบาลแจ้งความประสงค์ต่อ
หน่วยงานกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) เพื่อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา
หรืออนุสาขาศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา letrozole ในโรคมะเร็งเต้านม ด้วยเกณฑ์ดังต่อไปนี้
4.1 มีผลการตรวจ hormone receptor เป็นบวก
4.2 ผู้ป่วยอยู่ในภาวะหมดประจำเดือน (post menopause) แล้ว ซึ่งหมายถึงข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้
4.2.1 ผู้ป่วยมีอายุมากกว่า 60 ปี
4.2.2 ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดรังไข่ออกทั้งหมด
4.2.3 ผู้ป่วยหมดประจำเดือนตามธรรมชาติก่อนการเกิดมะเร็งเต้านมนานมากกว่า 1 ปี และควรตรวจระดับของ FSH และ
estradiol ว่าอยู่ในภาวะหมดประจำเดือนจริง
หมายเหตุกรณีหมดประจำเดือนหลังการผ่าตัดเอามดลูกออก หรือหลังจากการให้เคมีบำบัด ไม่จัดเป็นภาวะหมดประจำเดือนตาม
ความหมายข้างต้น
4.3 เป็นการใช้ยาในกรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้
4.3.1 เป็นโรคระยะแพร่กระจาย (advanced breast cancer)
4.3.2 เป็นโรคระยะแรก โดยใช้ยานี้เป็นยาเสริม (adjuvant therapy) แบบ switching therapy คือ
? ให้ใช้ยา tamoxifen 2-3 ปี ตามด้วย letrozole จนครบทั้งหมดรวมกันเป็น 5 ปีหรือ
? ให้letrozole 2 ปี แล้วตามด้วย tamoxifen 3 ปี จนครบทั้งหมดรวมกันเป็น 5 ปี
4.4 ไม่อนุมัติให้มีการใช้ยา letrozole ต่อไป และให้พิจารณาการรักษาในแนวทางอื่น เมื่อ
4.4.1 ใช้ยาในโรคระยะแพร่กระจายแล้วไม่ได้ผล
4.4.2 ใช้ยาแล้วได้ผลแต่ต่อมามี progressive disease
4.4.3 ผู้ป่วยทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้
4.4.4 กรณีใช้รักษาเสริมมะเร็งเต้านมระยะแรก รวมระยะเวลาการให้ยา letrozole และ tamoxifen มากกว่า 60 เดือน
4.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.6 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
155
5. ขนาดยาที่แนะนำ
2.5 มิลลิกรัมต่อวัน
6. การประเมินผลการรักษา
การประเมินว่าการรักษาไม่ได้ผลหรือมี progressive disease ให้พิจารณาจากอาการ (เช่น มีอาการเหนื่อยหอบมากขึ้น) การ
ตรวจร่างกาย การตรวจ tumor marker ในผู้ป่วยบางราย หรือการใช้ imaging technique เช่น X-ray, CT เป็นต้น
7. ข้อแนะนำเพิ่มเติม
แพทย์ควรป้องกัน ติดตาม และรักษาภาวะกระดูกบางระหว่างให้ยา letrozole โดยให้แคลเซียมเสริมวันละ 1,200–1,500
มิลลิกรัม แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย และหยุดสูบบุหรี่
156
แนวทางกำกับการใช้ยา Epoetin alfa/beta (epoetin alpha/beta: EPO)
ข้อบ่งใช้ ภาวะเลือดจางจากโรคไตเรื้อรังที่ไม่พบสาเหตุอื่นที่รักษาได้
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ระบบการอนุมัติการใช้ยา epoetin (EPO) ดำเนินการเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรก เป็น pre-authorization หากหน่วยงานสิทธิ
ประโยชน์นั้นมีระบบควบคุมอยู่แล้วให้ดำเนินงานตามขั้นตอนของหน่วยงานสิทธิประโยชน์ หากยังไม่มีระบบควบคุมให้ดำเนินการ
อนุมัติได้ภายในโรงพยาบาล โดยให้โรงพยาบาลนั้นตั้งคณะกรรมการตรวจสอบความถูกต้องของแนวทางการใช้ยาและอนุมัติการใช้ยา
แล้วเข้าสู่ขั้นตอนที่2 เป็น post-authorization ในระบบส่วนกลาง (หมายถึงมีคณะกรรมการตรวจสอบจากหน่วยงานสิทธิประโยชน์
ติดตามการใช้ยา) ภายหลังจากมีการใช้ยาแล้ว
สำหรับสถานพยาบาลอื่นที่ไม่ใช่โรงพยาบาล ให้อนุมัติด้วยระบบ pre-authorization ด้วยหน่วยงานสิทธิประโยชน์เท่านั้น
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
2.1 เป็นโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิขึ้นไป ที่มีแพทย์และพยาบาลที่ได้รับการฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง สำหรับกรณีที่
โรงพยาบาลมีหน่วยไตเทียม หน่วยไตเทียมของโรงพยาบาลนั้นต้องได้รับการรับรองจากแพทยสภา
2.2 เป็นสถานพยาบาลที่มีเครื่องฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม โดยสถานพยาบาลนั้นจะต้องผ่านการรับรองจากแพทยสภา
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
3.1 เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในอนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคไต หรืออนุสาขา
อายุรศาสตร์โรคไต ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
3.2 เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขากุมารเวชศาสตร์ หรืออายุรศาสตร์ที่ได้รับ
มอบหมายจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคไต หรือที่ผู้อำนวยการโรงพยาบาลมอบหมาย ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่
ได้รับการอนุมัติในข้อ 2
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
การใช้ epoetin ในภาวะเลือดจางจากโรคไตเรื้อรังที่ไม่พบสาเหตุอื่นที่รักษาได้มีข้อกำหนดดังนี้
4.1 เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะเลือดจางจากโรคไตเรื้อรังที่ไม่พบสาเหตุอื่นที่รักษาได้
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะเลือดจากโรคไตเรื้อรังที่ไม่พบสาเหตุอื่นที่รักษาได้ ตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
กรณีที่ 1 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 (Chronic kidney disease stage 5) ได้แก่
1. 1 ระยะเริ่มให้ยา (Initial Phase)
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 ที่ไม่เคยได้รับยา EPO มาก่อน ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งสามข้อ ดังนี้
1.1.1 ต้องตรวจพบสิ่งเหล่านี้ทุกข้อในผู้ป่วยก่อนการรักษาด้วยยา EPO
? มีค่า Hb ที่ตรวจได้น้อยกว่า 10 g/dL หรือมีค่า Hct น้อยกว่า 30 %
? ผู้ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 (มีค่า GFR น้อยกว่า 15 ml/min/1.73 m2 หรือ end-stage renal
disease) ???
? มีค่า Serum ferritin มากกว่า 100 ng/mL
? มีค่า TSAT มากกว่าหรือเท่ากับ 20%
1.1.2 ต้องตรวจไม่พบสิ่งเหล่านี้ทุกข้อในผู้ป่วยก่อนการรักษาด้วยยา EPO
? ผู้ป่วยกำลังมีภาวะเลือดออก (active bleeding)
? ผู้ป่วยมีลักษณะทางคลินิก หรือ ผลการตรวจทางปฏิบัติการโลหิตวิทยาพื้นฐาน ที่เข้าได้กับกลุ่มโรค
? EPO- resistant bone marrow disease ได้แก่ aplastic anemia, myelodysplastic syndrome,
??? KDOQI Clinical Practice Guidelines and Clinical Practice Recommendations for Anemia in Chronic Kidney Disease 2006.
157
myelofibrosis, myelopthisic anemia หรือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่ามีภาวะ pure red cell aplasia
(PRCA)
? ผู้ป่วยมีภาวะ megaloblastic anemia ซึ่งมีหลักฐานน่าเชื่อได้ว่าเกิดจากการขาดโฟเลต หรือ วิตามินบี 12
1.1.3 ถ้ามีโรคร่วม (co-morbid disease) ที่ทำให้เกิดภาวะเลือดจาง (anemia) ก็ต้องได้รับการรักษาโรคนั้นร่วมไป
ด้วย เช่น ถ้าตรวจพบ Stool occult blood ให้ผลบวก (Positive) ต้องมีการดำเนินการรักษา
1.2 ระยะการรักษาต่อเนื่องเพื่อควบคุมภาวะเลือดจางจากโรคไตเรื้อรัง (Maintenance phase)
การพิจารณาสั่งใช้ EPO ต่อเนื่องแก่ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 เพื่อควบคุมภาวะเลือดจางจากโรคไตเรื้อรัง
(maintenance phase) ผู้ป่วยต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งสามข้อดังนี้
1.2.1 ต้องตรวจพบสิ่งเหล่านี้ทุกข้อในผู้ป่วยก่อนการขอเบิกยา EPO คราวต่อไป
? ผู้ป่วยเคยได้รับการอนุมัติให้ใช้ยา EPO แล้ว
? ในกรณีที่มีการทำ dialysis แล้ว ต้องมีการแสดงค่า Kt/V ภายในช่วงเวลาไม่เกิน 3 เดือน (ก่อนวันยื่นขอเบิกยา)
โดยค่า Kt/V ที่ได้ควรเป็นดังนี้
- ควรมีค่า Kt/V ไม่น้อยกว่า 1.8/ครั้ง สำหรับผู้ที่ทำ Hemodialysis 2 ครั้ง/สัปดาห์ หรือ
- ควรมีค่า Kt/V ไม่น้อยกว่า 1.2/ครั้ง สำหรับผู้ที่ทำ Hemodialysis 3 ครั้ง/สัปดาห์ หรือ
- ควรมีค่า Kt/V ไม่น้อยกว่า 1.7/สัปดาห์ สำหรับผู้ที่ทำ Continuous Ambulatory Peritoneal
Dialysis (CAPD)
? ต้องมีการแสดงค่า Serum ferritin ภายในช่วงเวลาไม่เกิน 6 เดือน โดยค่า Serum ferritin ควร
มากกว่า 100 ng/mL
? ต้องมีการแสดงค่า TSAT ภายในช่วงเวลาไม่เกิน 6 เดือน โดยค่า TSAT ควรมากกว่าหรือเท่ากับ 20%
1.2.2 ต้องตรวจไม่พบสิ่งเหล่านี้ในผู้ป่วยก่อนการขอเบิกยา EPO คราวต่อไป
? ผู้ป่วยมีลักษณะทางคลินิก หรือ ผลการตรวจทางปฏิบัติการโลหิตวิทยาพื้นฐาน ที่เข้าได้กับกลุ่มโรค
EPO-resistant bone marrow disease ได้แก่ aplastic anemia, myelodysplastic
syndrome,myelofibrosis, myelopthisic anemia หรือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่ามีภาวะ PRCA
1.2.3 ถ้ามีโรคร่วม (co-morbid disease) ที่ทำให้เกิดภาวะเลือดจาง (anemia) ก็ต้องได้รับการรักษาโรคนั้นร่วมไปด้วย
กรณีที่ 2 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4 (Chronic kidney disease stage 4) ได้แก่
2.1 ระยะเริ่มให้ยา (Initial Phase)
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4 ที่ไม่เคยได้รับยา EPO มาก่อน ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งสามข้อดังนี้
2.1.1 ต้องตรวจพบสิ่งเหล่านี้ทุกข้อในผู้ป่วยก่อนการรักษาด้วยยา EPO
? มีค่า Hemoglobin (Hb) ที่ตรวจได้น้อยกว่า 10 g/dL หรือมีค่า Hematocrit (Hct) น้อยกว่า 30 %
? ผู้ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4 (มีค่า GFR เท่ากับ 15-30 mL/min/1.73 m2)
? มีค่า Serum ferritin มากกว่า 100 ng/mL
? มีค่า TSAT มากกว่าหรือเท่ากับ 20%
2.1.2 ต้องตรวจไม่พบสิ่งเหล่านี้ทุกข้อในผู้ป่วยก่อนการรักษาด้วยยา EPO
? ผู้ป่วยกำลังมีภาวะเลือดออก (active bleeding)
? ผู้ป่วยมีลักษณะทางคลินิก หรือ ผลการตรวจทางปฏิบัติการโลหิตวิทยาพื้นฐาน ที่เข้าได้กับกลุ่มโรค
? EPO-resistant bone marrow disease ได้แก่ aplastic anemia, myelodysplastic syndrome,
myelofibrosis, myelopthisic anemia หรือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่ามีภาวะ PRCA
? ผู้ป่วยมีภาวะ megaloblastic anemia ซึ่งมีหลักฐานน่าเชื่อได้ว่าเกิดจากการขาดโฟเลต หรือวิตามินบี 12
158
2.1.3 ถ้ามีโรคร่วม (co-morbid disease) ที่ทำให้เกิดภาวะเลือดจาง (anemia) ก็ต้องได้รับการรักษาโรค
นั้นร่วมไปด้วย เช่น ถ้าตรวจพบ Stool occult blood ให้ผลบวก (Positive) ต้องมีการดำเนินการรักษา
2.2 ระยะการรักษาต่อเนื่องเพื่อควบคุมภาวะเลือดจางจากโรคไตเรื้อรัง (Maintenance phase)
การพิจารณาสั่งใช้ยา EPO ต่อเนื่องแก่ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่4 เพื่อควบคุมภาวะเลือดจางจากโรคไตเรื้อรัง
(maintenance phase) ผู้ป่วยต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งสามข้อดังนี้
2.2.1 ต้องตรวจพบสิ่งเหล่านี้ทุกข้อในผู้ป่วยก่อนการขอเบิกยา EPO คราวต่อไป
? ผู้ป่วยเคยได้รับการอนุมัติให้ใช้ยา EPO แล้ว
? ต้องมีการแสดงค่า Serum ferritin ภายในช่วงเวลาไม่เกิน 6 เดือน โดยค่า Serum ferritin ควร
มากกว่า 100 ng/mL
? ต้องมีการแสดงค่า TSAT ภายในช่วงเวลาไม่เกิน 6 เดือน โดยค่า TSAT ควรมากกว่าหรือเท่ากับ 20%
2.2.2 ต้องตรวจไม่พบสิ่งเหล่านี้ในผู้ป่วยก่อนการขอเบิกยา EPO คราวต่อไป
? ผู้ป่วยมีลักษณะทางคลินิก หรือผลการตรวจทางปฏิบัติการโลหิตวิทยาพื้นฐาน ที่เข้าได้กับกลุ่มโรค
EPO-resistant bone marrow disease ได้แก่ aplastic anemia, myelodysplastic syndrome,
myelofibrosis, myelopthisic anemia หรือผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่ามีภาวะ PRCA
2.2.3 ถ้ามีโรคร่วม (co-morbid disease) ที่ทำให้เกิดภาวะเลือดจาง (anemia) ก็ต้องได้รับการรักษาโรคนั้นร่วมไปด้วย
4.2 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.3 ให้หยุดใช้ยา EPO ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะ PRCA หลังได้รับยา EPO
4.4 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวด และความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
159
แนวทางกำกับการใช้ยา Verteporfin
ข้อบ่งใช้โรคจุดภาพชัดจอประสาทตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปียกที่มีเส้นเลือดงอกใหม่ใต้รอยบุ๋มจอตา
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแบบคลาสสิก
(predominantly classic subfoveal choroidal neovascularization (CNV)
due to age-related macular degeneration (wet form))
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
ขออนุมัติการใช้ยา verteporfin จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา (pre-authorization) ก่อนการใช้ยาทุกครั้ง โดยขอ
อนุมัติได้ไม่เกิน 4 ครั้งต่อตา 1 ข้าง โดยมีการลงทะเบียนทั้งแพทย์และผู้ป่วยก่อนทำการรักษา
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ซึ่งมีความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการรักษา ตลอดจนสามารถทำรังสี
วินิจฉัยและถ่ายภาพจอประสาทตา (fundus fluorescein angiography - FFA) ได้
2.2 กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้างต้น ให้สถานพยาบาลแจ้งความประสงค์ต่อหน่วยงานกำกับ
ดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2) เพื่อขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีๆ ไป
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรจากแพทยสภาในสาขาจักษุวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับ
การอนุมัติในข้อ 2 และมีความเชี่ยวชาญทางจอประสาทตาซึ่งได้ลงทะเบียนไว้กับหน่วยงานกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา
อนุมัติการใช้ยา verteporfin ในโรคจุดภาพชัดจอประสาทตาเสื่อมเหตุสูงวัยแบบเปียก โดยมีเกณฑ์ครบทุกข้อตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
4.1 ผู้ป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรคจุดภาพชัดจอประสาทตาเสื่อมที่มีสาเหตุจากสูงวัยแบบเปียก
4.2 ผู้ป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรคที่มีเส้นเลือดงอกใหม่ใต้รอยบุ๋มจอตาซึ่งส่วนใหญ่ (ตั้งแต่ร้อยละ 50 ของรอยโรค) เป็น
แบบคลาสสิก
4.3 มีผลการถ่ายภาพจอประสาทตาตามข้อ 4.2 มาแสดง
4.4 ผู้ป่วยมีสายตาเท่ากับหรือดีกว่า 6/60 หรือ 20/200 เมื่อวัดสายตาข้างที่เป็นก่อนการรักษาด้วยยา verteporfin ในแต่ละครั้ง
4.5 ให้เบิกยาได้ไม่เกิน 4 ครั้งต่อตา 1 ข้าง
4.6 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) ?
4.7 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย??
5. ขนาดยาที่แนะนำ
ขนาดที่แนะนำคือ 6 มิลลิกรัมต่อตารางเมตร หยดเข้าหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่องโดยใช้เวลานานกว่า 10 นาที ตามด้วยการ
กระตุ้นด้วยแสงที่ 15 นาทีหลังจากเริ่มให้ยา
? ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น (irreversible) ซึ่ง
ในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง (palliative care) โดยมุ่งหวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ
?? โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยาโดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)
160
ภาคผนวก 4
บัญชียาจากสมุนไพร
กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ 50 รายการ
1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม)
(1) ยาหอมทิพโอสถ ยาผง ยาเม็ด
ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(2) ยาหอมเทพจิตร ยาผง ยาเม็ด
ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(3) ยาหอมนวโกฐ ยาผง ยาเม็ด
ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(4) ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(5) ยาหอมอินทจักร์ ยาผง ยาเม็ด
ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
(1) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
(2) ยาธาตุอบเชย ยาน้ำ (รพ.)
(3) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(4) ยาประสะกะเพรา ยาผง ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(5) ยาประสะกานพลู ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด
ยาผง (รพ.)
(6) ยาประสะเจตพังคี ยาแคปซูล ยาผง
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(7) ยามันทธาตุ ยาผง ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(8) ยามหาจักรใหญ่ ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(9) ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาผง
(10) ยาอภัยสาลี ยาลูกกลอน ยาเม็ด
161
1.2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก
(1) ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง ยาแคปซูล ยาเม็ด
(2) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.)
1.2.3 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย
(1) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
(2) ยาเหลืองปิดสมุทร ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
1.2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก
(1) ยาผสมเพชรสังฆาต ยาแคปซูล
ยาแคปซูล (รพ.)
(2) ยาริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.)
1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
(1) ยาประสะไพล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
(2) ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
(3) ยาไฟประลัยกัลป์ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(4) ยาไฟห้ากอง ยาผง
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(5) ยาเลือดงาม ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.)
(6) ยาสตรีหลังคลอด ยาต้ม (รพ.)
1.4 ยาแก้ไข้
(1) ยาเขียวหอม ยาผง
ยาเม็ด (รพ.) ยาผง (รพ.)
(2) ยาจันทน์ลีลา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(3) ยาประสะจันทน์แดง ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(4) ยาประสะเปราะใหญ่ ยาผง ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(5) ยามหานิลแท่งทอง ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(6) ยาห้าราก ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด
162
1.5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
1.5.1 ยาบรรเทาอาการไอ
(1) ยาแก้ไอผสมกานพลู ยาลูกกลอน (รพ.)
(2) ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม ยาน้ำ (รพ.)
(3) ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ยาลูกกลอน (รพ.)
(4) ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน ยาน้ำ (รพ.)
(5) ยาตรีผลา ยาลูกกลอน ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
(6) ยาประสะมะแว้ง ยาเม็ด
ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
(7) ยาอำมฤควาที ยาผง ยาลูกกลอน
ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
1.5.2 ยาบรรเทาอาการหวัด
(1) ยาปราบชมพูทวีป ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
1.6 ยาบำรุงโลหิต
(1) ยาบำรุงโลหิต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
1) ยาสำหรับรับประทาน
(1) ยากษัยเส้น ยาลูกกลอน (รพ.)
(2) ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ยาผง (รพ.)
(3) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.)
(4) ยาผสมโคคลาน ยาชง (รพ.) ยาต้ม (รพ.)
(5) ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ยาลูกกลอน (รพ.)
(6) ยาสหัศธารา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
2) ยาสำหรับใช้ภายนอก
(1) ยาขี้ผึ้งไพล ยาขี้ผึ้ง(รพ.)
(2) ยาประคบ ยาประคบสมุนไพร(สด/แห้ง) (รพ.)
1.8 ยาบำรุงธาตุ ปรับธาตุ
(1) ยาตรีเกสรมาศ ยาชง (รพ.)
(2) ยาตรีพิกัด ยาแคปซูล (รพ.)
(3) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(4) ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
163
กลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร 21 รายการ
2.1 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร
(1) ยากล้วย ยาผง (รพ.)
(2) ยาขมิ้นชัน ยาแคปซูล ยาเม็ด
ยาแคปซูล (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
(3) ยาขิง ยาแคปซูล ยาชง
ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาชง (รพ.)
(4) ยาชุมเห็ดเทศ ยาแคปซูล ยาชง
ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
(5) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
(6) ยามะขามแขก ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
2.2 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
(1) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน
ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
2.3 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง
(1) ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ทิงเจอร์(รพ.)
(2) ยาทิงเจอร์พลู ทิงเจอร์(รพ.)
(3) ยาบัวบก ยาครีม
ยาครีม (รพ.)
(4) ยาเปลือกมังคุด ยาน้ำใส (รพ.)
(5) ยาพญายอ ยาครีม ยาโลชัน สารละลาย (สำหรับป้ายปาก)
ยาโลชัน (รพ.) สารละลาย (สำหรับป้ายปาก) (รพ.)
ยาขี้ผึ้ง (รพ.) ทิงเจอร์ (รพ.)
2.4 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
1) ยาสำหรับรับประทาน
(1) ยาเถาวัลย์เปรียง ยาแคปซูล (รพ.)
2) ยาสำหรับใช้ภายนอก
(1) ยาพริก ยาเจล
ยาครีม (รพ.) ยาเจล(รพ.) ยาขี้ผึ้ง (รพ.)
(2) ยาไพล ยาครีม
(3) ยาน้ำมันไพล ยาน้ำมัน (รพ.)
2.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ
(1) ยากระเจี๊ยบแดง ยาชง (รพ.)
(2) ยาหญ้าหนวดแมว ยาชง (รพ.)
164
2.6 ยาแก้ไข้ แก้ร้อนใน
(1) ยาบัวบก ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
(2) ยามะระขี้นก ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
(3) ยารางจืด ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
(4) ยาหญ้าปักกิ่ง ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
2.7 ยาถอนพิษเบื่อเมา
(1) ยารางจืด ยาชง (รพ.)
2.8 ยาลดความอยากบุหรี่
(1) ยาหญ้าดอกขาว ยาชง (รพ.)
หมายเหตุ
1. รายละเอียดของยาแต่ละรายการตามภาคผนวก 5
2. รพ. ในเครื่องหมายวงเล็บ หมายถึง รูปแบบยาจากสมุนไพรที่เป็นเภสัชตำรับโรงพยาบาล
165
ภาคผนวก 5
รายละเอียดรายการยาตามบัญชียาจากสมุนไพร
กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ 50 รายการ
1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม)
(1) ยาหอมทิพโอสถ ยาผง ยาเม็ด ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 142 กรัม ประกอบด้วย
1. ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกมะลิ เกสรบัวหลวง ดอกกระดังงา
ดอกจำปา ดอกบัวจงกลนี หัวแห้วไทย กระจับ แก่นฝาง แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว
แก่นจันทน์เทศ กฤษณา เปลือกชะลูด เปลือกอบเชย เปลือกสมุลแว้ง แก่นสนเทศ
เหง้าว่านนํ้า เหง้ากระชาย หัวเปราะหอม ดอกคำไทย รากชะเอมเทศ แก่นสุรามฤต
ลำต้นข่าต้น ลูกจันทน์ดอกจันทน์ หนักสิ่งละ 4 กรัม
2. โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว
โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 2 กรัม
3. เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี
เทียนสัตตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนักสิ่งละ 1 กรัม
4. พิมเสน หนัก 2 กรัม การบูร หนัก 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ แก้ลมวิงเวียน
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 – 1.4 กรัม ละลายน้ำกระสายยา เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
น้ำกระสายยาที่ใช้
น้ำดอกไม้หรือน้ำสุก
ชนิดเม็ด
รับประทานครั้งละ 1 – 1.4 กรัม เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาหอมเทพจิตร ยาผง ยาเม็ด ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 366 กรัม ประกอบด้วย
1. ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง ดอกบัวขม ดอกบัวเผื่อน
หนักสิ่งละ 4 กรัม ดอกมะลิ หนัก 183 กรัม
166
2. ผิวมะกรูด ผิวมะงั่ว ผิวมะนาว ผิวส้มตรังกานูหรือส้มจุก ผิวส้มจีน ผิวส้มโอ
ผิวส้มเขียวหวาน หนักสิ่งละ 4 กรัม ผิวส้มซ่า หนัก 28 กรัม
3.โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว
โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 4 กรัม
4. เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี
เทียนสัตตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนักสิ่งละ 4 กรัม
5. ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาวหรือ
แก่นจันทน์ชะมด กฤษณา กระลำพัก ขอนดอก เปลือกชะลูด เปลือกอบเชย
หัวเปราะหอม รากแฝกหอม หนักสิ่งละ 2 กรัม
6. พิมเสน หนัก 4 กรัม การบูร หนัก 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ แก้ลมกองละเอียด ได้แก่ อาการหน้ามืด ตาลาย สวิงสวาย (อาการที่รู้สึกใจหวิววิงเวียน
คลื่นไส้ ตาพร่าจะเป็นลม) ใจสั่น และบำรุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 - 1.4 กรัม ละลายน้ำสุก
เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
ชนิดเม็ด
รับประทานครั้งละ 1 - 1.4 กรัม เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(3) ยาหอมนวโกฐ ยาผง ยาเม็ด ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับยา ในผงยา 212 กรัม ประกอบด้วย
1. โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว
โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 4 กรัม
2. เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี
เทียนสัตตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนักสิ่งละ 4 กรัม
3. เปลือกสมุลแว้ง หญ้าตีนนก รากแฝกหอม เปลือกชะลูด หัวเปราะหอม
กระลำพัก ขอนดอก เนื้อไม้กฤษณา หนักสิ่งละ 4 กรัม
4. เหง้าขิงแห้ง ดอกดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง เถาสะค้าน รากช้าพลู หนักสิ่งละ 3 กรัม
5. หัวแห้วหมู ลูกกระวาน ดอกกานพลู ดอกจันทน์ลูกจันทน์เปลือกอบเชยญวน
ลูกผักชีลา แก่นสน หนักสิ่งละ 4 กรัม
6. แก่นสักขี ลูกราชดัด ลูกสารพัดพิษ แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทน์แดง ลูกกระดอม
เถาบอระเพ็ด หนักสิ่งละ 4 กรัม
7. เกสรบัวหลวง ดอกบุนนาค ดอกพิกุล ดอกสารภี ดอกมะลิหนักสิ่งละ 4 กรัม
167
8. เนื้อลูกมะขามป้อม เนื้อลูกสมอพิเภก รากชะเอมเทศ หนักสิ่งละ 4 กรัม
9. พิมเสน หนัก 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ 1. แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ
2. แก้ลมปลายไข้ (หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน
เบื่ออาหาร ท้องอืด และอ่อนเพลีย)
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน้ำกระสาย เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
น้ำกระสายยาที่ใช้
? กรณี แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ
ใช้น้ำลูกผักชี (15 กรัม) หรือเทียนดำ (15 กรัม) ต้มเป็นน้ำกระสายยา
? กรณีแก้ลมปลายไข้ (หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการเช่น คลื่นเหียน วิงเวียน
เบื่ออาหาร ท้องอืด อ่อนเพลีย) ใช้ก้านสะเดา (33 ก้าน หรือ 15 กรัม) ลูกกระดอม
(7 ลูก หรือ 15 กรัม) และเถาบอระเพ็ด (7 องคุลี หรือ 15 กรัม) ต้มเป็นน้ำ
กระสายยา
? ถ้าหาน้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น้ำสุกแทน
ชนิดเม็ด
รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ
จำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
(4) ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 225 กรัมประกอบด้วย
1. รากชะเอมเทศ หนัก 32 กรัม แก่นจันทน์เทศ หนัก 24 กรัม
2. ดอกกานพลู โกฐเชียง โกฐหัวบัว รากแฝกหอม เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 12 กรัม
3. เปลือกสมุลแว้ง หนัก 10 กรัม เปลือกอบเชยญวน เปลือกอบเชยเทศ กฤษณา
กระลำพัก โกฐจุฬาลัมพา โกฐพุงปลา เปลือกชะลูด หนักสิ่งละ 8 กรัม
4. พิมเสน ขอนดอก ดอกบุนนาค ดอกพิกุล ดอกสารภี หนักสิ่งละ 6 กรัม
5. เถามวกแดง 5 กรัม น้ำประสานทองสะตุ แก่นจันทน์แดง หนักสิ่งละ 4 กรัม
ข้อบ่งใช้ แก้ลมวิงเวียน อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 600 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ำสุก เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4
ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
168
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(5) ยาหอมอินทจักร์ ยาผง ยาเม็ด ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 98 กรัม ประกอบด้วย
เถาสะค้าน รากช้าพลู เหง้าขิง ดอกดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง ลูกผักชีลา โกฐสอ
โกฐเขมา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง โกฐกักกรา โกฐน้ำเต้า
โกฐกระดูก เทียนดำ เทียนขาว เทียนแดง เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี แก่นจันทน์
แดง แก่นจันทน์เทศ เถามวกแดง เถามวกขาว รากย่านาง เปลือกชะลูด เปลือกอบเชย
เปลือกสมุลแว้ง กฤษณา กระลำพัก เถาบอระเพ็ด ลูกกระดอม กำยาน ขอนดอก
ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู ลำพันแดง ดอกสารภี ดอกพิกุล
ดอกบุนนาค ดอกจำปา ดอกกระดังงา ดอกมะลิ ดอกคำไทย แก่นฝางเสน ดีวัว พิมเสน
หนักสิ่งละ 2 กรัม
ข้อบ่งใช้ 1. แก้ลมบาดทะจิต
2. แก้คลื่นเหียนอาเจียน
3. แก้ลมจุกเสียด
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน้ำกระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน
วันละ 3 ครั้ง
น้ำกระสายยาที่ใช้
? กรณีแก้ลมบาดทะจิต ใช้น้ำดอกมะลิ
? กรณีแก้คลื่นเหียนอาเจียน ใช้น้ำลูกผักชี เทียนดำต้ม ถ้าไม่มีใช้น้ำสุก
? กรณีแก้ลมจุกเสียด ใช้น้ำขิงต้ม
ชนิดเม็ด
รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ
จำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
169
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
(1) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 104 กรัม ประกอบด้วย
1. เนื้อลูกสมอไทย หนัก 16 กรัม
2. โกฐก้านพร้าว หนัก 8 กรัม
3. เหง้าขิง โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนดำ เทียนขาว เทียนสัตตบุษย์
เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ดอกกานพลู เปลือกสมุลแว้ง
ลูกกระวาน ลูกผักชีลา ใบพิมเสนต้น ดอกดีปลี หัวเปราะหอม การบูร หนักสิ่งละ 4 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง
ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้
? กรณีแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้กระเทียม 3 กลีบ ทุบชงน้ำร้อนหรือใช้ใบกะเพรา
ต้มเป็นน้ำกระสายยา
? ถ้าหาน้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น้ำสุกแทน
ชนิดลูกกลอน และชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ
จำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
170
(2) ยาธาตุอบเชย ยาน้ำ (รพ.)
สูตรตำรับ ในยาน้ำ 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย
1.เปลือกอบเชยเทศ เปลือกสมุลแว้ง ลูกกระวาน ดอกกานพลู รากชะเอมเทศ
หนักสิ่งละ 800 มิลลิกรัม
2.เกล็ดสะระแหน่ การบูร หนักสิ่งละ 50 มิลลิกรัม
ข้อบ่งใช้ ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 15 - 30 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต
เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(3) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย
ดอกดีปลี รากช้าพลูเถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิงแห้ง หนักสิ่งละ 20 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ชนิดลูกกลอน ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กเล็ก
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ยานี้ในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทำให้ไฟธาตุกำเริบ
- ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(4) ยาประสะกะเพรา ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 92 กรัม ประกอบด้วย
1. ใบกะเพราแดง หนัก 47 กรัม
2. ผิวมะกรูด หนัก 20 กรัม
3. รากชะเอมเทศ มหาหิงคุ์ หนักสิ่งละ 8 กรัม
4. พริกไทยล่อน เหง้าขิง ดอกดีปลี หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 2 กรัม
5. เกลือสินเธาว์ หนัก 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผงและชนิดเม็ด
เด็ก อายุ 1 – 3 เดือน รับประทานครั้งละ 100 – 200 มิลลิกรัม
อายุ 4 – 6 เดือน รับประทานครั้งละ 200 – 300 มิลลิกรัม
171
อายุ 7 – 12 เดือน รับประทานครั้งละ 400 – 600 มิลลิกรัม
โดยนำยาละลายน้ำกระสายยา (ทิ้งไว้ให้ตกตะกอน แล้วใช้หลอดหยดดูดส่วนน้ำใส)
รับประทานวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้
? กรณีแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้น้ำสุก หรือน้ำใบกะเพราต้ม
? กรณีแก้จุกเสียด ใช้ไพลเผาไฟพอสุก ฝนกับน้ำสุก
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี(รพ.) รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น
เมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ชนิดเม็ดที่ใช้ละลายน้ำกระสายยา เป็นชนิดเม็ดแบบอัดเปียก
(5) ยาประสะกานพลู ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาผง (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 250 กรัม ประกอบด้วย
1. ดอกกานพลู หนัก 125 กรัม
2. เปลือกซิก หนัก 10 กรัม เหง้าขมิ้นชัน หนัก 8 กรัม เปลือกเพกา เปลือกขี้อ้าย
หนักสิ่งละ 4 กรัม
3. เหง้าขิงแห้ง ดอกดีปลี หนักสิ่งละ 3 กรัม เหง้าไพล รากเจตมูลเพลิงแดง เถาสะค้าน
รากช้าพลู หนักสิ่งละ 2 กรัม พริกไทยล่อน หนักสิ่งละ 1 กรัม เหง้าว่านน้ำ หัวกระชาย
การบูร หนักสิ่งละ 4 กรัม
4. รากแฝกหอม หัวเปราะหอม รากกรุงเขมา ใบกระวาน ลูกกระวาน ลูกผักชีลา
หนักสิ่งละ 4 กรัม ลูกจันทน์ หนักสิ่งละ 8 กรัม
5. เทียนดำ เทียนขาว โกฐสอ โกฐกระดูก หนักสิ่งละ 4 กรัม
6. รากข้าวสาร หนัก 8 กรัม รากแจง หนัก 4 กรัม
7. กำมะถันเหลือง หนัก 4 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดท้อง จุกเสียด แน่นเฟ้อจากอาหารไม่ย่อย เนื่องจากธาตุไม่ปกติ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้
? ใช้ไพลเผาไฟพอสุกฝนกับน้ำปูนใสเป็นน้ำกระสาย
? ถ้าหาน้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น้ำสุกแทน
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ -
172
ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ
จำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
(6) ยาประสะเจตพังคี ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 66 กรัม ประกอบด้วย
1. รากเจตพังคี หนัก 33 กรัม
2. เหง้าข่า หนัก 16 กรัม
3. รากระย่อม พริกไทยล่อน เถาบอระเพ็ด หนักสิ่งละ 2 กรัม
4. ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ ลูกกระวาน ใบกระวาน ดอกกานพลู รากกรุงเขมา
เนื้อลูกสมอทะเล รากพญารากขาว เปลือกต้นหว้า เกลือสินเธาว์ การบูร หนักสิ่งละ 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ แก้กษัยจุกเสียด ขับผายลม
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ
จำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
(7) ยามันทธาตุ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 93 กรัม ประกอบด้วย
1. เหง้าขิง ลูกเบญกานี หนักสิ่งละ 9 กรัม
2. โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว
เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน ลูกผักชีล้อม ลูกผักชีลา หัวกระเทียม เปลือกสมุลแว้ง
เปลือกโมกมัน แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์เทศ ดอกกานพลู ดอกดีปลี รากช้าพลู
เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิงแดง พริกไทยล่อน ลูกจันทน์ การบูร หนักสิ่งละ 3 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้ธาตุไม่ปกติ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม
ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
173
ชนิดเม็ดและ ชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
เด็ก อายุ 6 - 12 ปีรับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง
ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ขวบ เนื่องจากเป็นยารสร้อน ทำให้ลิ้น ปากแสบร้อนได้
- ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ
จำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
(8) ยามหาจักรใหญ่ ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 114 กรัม ประกอบด้วย
1. ใบกระพังโหม หนัก 60 กรัม
2. ยาดำสะตุ หนัก 8 กรัม
3. โกฐสอ โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐก้านพร้าว โกฐกระดูก เทียนดำ เทียนแดง
เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอพิเภก
เนื้อลูกมะขามป้อม ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู รากชะเอมเทศ
เมล็ดโหระพา ลูกผักชีลา สารส้มสะตุ เหง้าขมิ้นอ้อย หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 2กรัม
ข้อบ่งใช้ 1.แก้ลมซาง
2.บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้ 1. แก้ลมซาง
ชนิดผงและชนิดเม็ด
เด็ก อายุ 1 – 5 ขวบ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม ละลายน้ำสุก
เพิ่มและลดได้ตามส่วน วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
2.บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ชนิดผงและชนิดเม็ด
เด็ก อายุ 1 – 5 ขวบ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม ละลายน้ำสุก
เพิ่มและลดได้ตามส่วน วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล
เด็ก อายุ 6 – 12 ปี(รพ.) รับประทานครั้งละ 1.5 กรัม วันละ 2 ครั้ง
เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
174
- หากรับประทานแล้วมีอาการท้องเสีย ควรหยุดรับประทานยา
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ชนิดเม็ดที่ใช้ละลายน้ำกระสายยา เป็นชนิดเม็ดแบบอัดเปียก
(9) ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาผง
สูตรตำรับ ในผงยา 108 กรัม ประกอบด้วย
1. ดอกดีปลี หนัก 54 กรัม
2. ลูกผักชีลา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์หนักสิ่งละ 8 กรัม
3. ลูกกระวาน ดอกกานพลู โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา
เปลือกอบเชย เปลือกสมุลแว้ง เนื้อลูกสมอเทศ เนื้อลูกสมอไทย เหง้าว่านน้ำ
เถาบอระเพ็ด เหง้าขิงแห้ง รากพญารากขาว หนักสิ่งละ 2 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำสุกหรือผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน ทุก 4 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ
rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีดอกดีปลีในปริมาณสูง
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ
จำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
(10) ยาอภัยสาลี ยาลูกกลอน ยาเม็ด
สูตรตำรับ ในผงยา 181 กรัม ประกอบด้วย
1. หัศคุณเทศ หนัก 24 กรัม พริกไทยล่อน แก่นจันทน์เทศ หนักสิ่งละ 16 กรัม
รากเจตมูลเพลิงแดง หนัก 12 กรัม
2. หัวบุกรอ หนัก 15 กรัม เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอเทศ หนักสิ่งละ 13 กรัม
3. เทียนแดง หนัก 11 กรัม เทียนข้าวเปลือก หนัก 10 กรัม เทียนตาตั๊กแตน
หนัก 9 กรัม เทียนขาว หนัก 8 กรัม
4. โกฐเขมา หนัก 9 กรัม โกฐสอ หนัก 8 กรัม
5. เหง้าว่านน้ำ หนัก 7 กรัม ดอกกานพลู หนัก 4 กรัม ลูกกระวาน หนัก 3 กรัม
ดอกจันทน์ หนัก 2 กรัม ลูกจันทน์ หนัก 1 กรัม
6. ลูกพิลังกาสา หนัก 6 กรัม
ข้อบ่งใช้ บำบัดโรคลม บรรเทาอาการจุกเสียดแน่น
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
175
ข้อควรระวัง - ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant)
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
1.2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก
(1) ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง ยาแคปซูล ยาเม็ด
สูตรตำรับ ในผงยา 117 กรัม ประกอบด้วย
1. ดีเกลือฝรั่ง หนัก 60 กรัม ยาดำสะตุ หนัก 12 กรัม
2. ใบมะกา ใบมะขาม ใบส้มป่อย เนื้อในฝักคูน รากขี้กาแดง รากขี้กาขาว รากตองแตก
ฝักส้มป่อย เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอดีงู เถาวัลย์เปรียง หนักสิ่งละ 3 กรัม ขี้เหล็กทั้ง 5
หนัก 3 กรัม
3. หัวหอม หนัก 3 กรัม
4. หญ้าไทร ใบไผ่ป่า หนักสิ่งละ 3 กรัม
ข้อบ่งใช้ ใช้บรรเทาอาการท้องผูก ในผู้ที่ท้องผูกมาก หรือเรื้อรัง ที่ใช้ยาอื่นแล้วไม่ได้ผล
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
ครั้งแรก รับประทาน 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ถ้าไม่ถ่าย วันต่อไป รับประทานเพิ่มเป็น 1.5 กรัม
แต่ไม่เกิน 2.5 กรัม ต่อวัน (ตามธาตุหนักธาตุเบา)
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และเด็ก
- ห้ามใช้ในภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction/ileus)
- ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติเฉียบพลันที่ทางเดินอาหาร (acute gastrointestinal
conditions) เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
ข้อควรระวัง - เนื่องจากเป็นยาถ่ายอย่างแรง ไม่ควรใช้ยานี้ในผู้ป่วยอ่อนเพลียมากหรือมีภาวะขาดน้ำ
- เมื่อถ่ายแล้ว ให้เว้นอย่างน้อย 2 วัน แล้วจึงใช้ยานี้อีกครั้ง
- ควรระวังการใช้ยาในผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของไตหรือตับ
(renal/hepatic impairment) เนื่องจากยามีส่วนประกอบของแมกนีเซียม
อาการไม่พึงประสงค์ ปวดเสียดท้อง
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 160 กรัม ประกอบด้วย
1. พริกไทยล่อน หนัก 96 กรัม
2. ยาดำสะตุ หนัก 20 กรัม
3. เนื้อลูกสมอไทย มหาหิงคุ์ การบูร หนักสิ่งละ 6 กรัม
4. รงทอง (ประสะ) หนัก 4 กรัม
5. ผักแพวแดง (ทั้งต้น) เนื้อลูกมะขามป้อม หนักสิ่งละ 2 กรัม
6. ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู เทียนดำ เทียนขาว หัวดองดึง หัวบุก
หัวกลอย หัวกระดาดขาว หัวกระดาดแดง ลูกเร่ว เหง้าขิง รากชะเอมเทศ
รากเจตมูลเพลิงแดง โกฐกระดูก โกฐเขมา โกฐน้ำเต้า หนักสิ่งละ 1 กรัม
176
ข้อบ่งใช้ แก้เถาดาน ท้องผูก
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน้ำสุกหรือผสมน้ำผึ้ง ปั้นเป็น
ลูกกลอน วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน และชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ
rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
- ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
1.2.3 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย
(1) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 104 กรัม ประกอบด้วย
1. เนื้อลูกสมอไทย หนัก 16 กรัม
2. โกฐก้านพร้าว หนัก 8 กรัม
3. เหง้าขิง โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนดำ เทียนขาว เทียนสัตตบุษย์
เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ดอกกานพลู เปลือกสมุลแว้ง
ลูกกระวาน ลูกผักชีลา ใบพิมเสนต้น ดอกดีปลี หัวเปราะหอม การบูร หนักสิ่งละ 4 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น
อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปนและท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ำกระสายยา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้
? กรณีบรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ
ใช้เปลือกแคหรือเปลือกสะเดา หรือเปลือกลูกทับทิมต้ม แทรกกับน้ำปูนใสเป็นน้ำ
กระสายยา
? ถ้าหาน้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น้ำสุกแทน
177
ชนิดลูกกลอน และชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- ในกรณีท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น
ควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาเหลืองปิดสมุทร ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย
1. เหง้าขมิ้นชัน หนัก 30 กรัม
2. ชันย้อย ครั่ง สีเสียดเทศ เปลือกสีเสียดไทย ใบเทียน ใบทับทิม หัวแห้วหมู
เหง้าขมิ้นอ้อย เปลือกเพกา รากกล้วยตีบ หัวกระเทียมคั่ว ดอกดีปลี หนักสิ่งละ 5 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือด
ปนและท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผงและชนิดเม็ด
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา ทุก 3 – 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 3 – 5 เดือน รับประทานครั้งละ 200 มิลลิกรัม
อายุ 6 – 12 เดือน รับประทานครั้งละ 300 – 400 มิลลิกรัม
อายุ 1 – 5 ขวบ รับประทานครั้งละ 500 – 700 มิลลิกรัม
อายุ 6 – 12 ปี รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม
ละลายน้ำกระสายยา ทุก 3 – 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้
? ใช้น้ำเปลือกลูกทับทิมหรือเปลือกแคต้ม แทรกกับน้ำปูนใสเป็นน้ำกระสายยา
สำหรับเด็กเล็กให้บดผสมกับน้ำกระสายยา ใช้รับประทานหรือกวาดก็ได้
? ถ้าหาน้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น้ำสุกแทน
ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล
เด็ก อายุ 6 – 12 ปี รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม เมื่อมีอาการ
ผู้ใหญ่(รพ.) รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ชนิดเม็ดที่ใช้ละลายน้ำกระสายยา เป็นชนิดเม็ดแบบอัดเปียก
178
1.2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก
(1) ยาผสมเพชรสังฆาต ยาแคปซูล ยาแคปซูล (รพ.)
สูตรที่ 1
รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาแคปซูล (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย
เถาเพชรสังฆาต หนัก 70 กรัม รากอัคคีทวาร หนัก 20 กรัม โกฐน้ำเต้าหนัก 10 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1.2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย
ข้อมูลเพิ่มเติม -
สูตรที่ 2
รูปแบบ ยาแคปซูล (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 85 กรัม ประกอบด้วย
เถาเพชรสังฆาต หนัก 50 กรัม กะเม็ง (ทั้งต้น) หนัก 15 กรัม โกฐน้ำเต้า หัวกระชาย
หนักสิ่งละ 10 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย มวนท้อง
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 110 กรัม ประกอบด้วย
1. มดยอบคั่ว หนัก 5 กรัม
2. ขอบชะนางแดง (ทั้งต้น) ขอบชะนางขาว (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 5 กรัม
3. โกฐกักกรา โกฐสอ โกฐจุฬาลำพา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา หนักสิ่งละ 5 กรัม
4. เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน หนักสิ่งละ 5 กรัม
5. แก่นสนเทศ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ เถาสะค้าน เปลือกสมุลแว้ง ดอกดีปลี
พริกไทยล่อน เหง้าขิง เปลือกอบเชยเทศ หนักสิ่งละ 5 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
อาการไม่พึงประสงค์ -
179
ข้อมูลเพิ่มเติม -
1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
(1) ยาประสะไพล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 162 กรัม ประกอบด้วย
1. เหง้าไพล หนัก 81 กรัม
2. ผิวมะกรูด เหง้าว่านน้ำ หัวกระเทียม หัวหอม พริกไทยล่อน ดอกดีปลี เหง้าขิง เหง้า
ขมิ้นอ้อย เทียนดำ เกลือสินเธาว์ หนักสิ่งละ 8 กรัม
3. การบูร หนัก 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ 1. ระดูมาไม่สม่ำเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ
2. บรรเทาอาการปวดประจำเดือน
3. ขับน้ำคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร
ขนาดและวิธีใช้ กรณีระดูมาไม่สม่ำเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ
ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
เป็นเวลา 3 - 5 วัน เมื่อระดูมา ให้หยุดรับประทาน
ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
เป็นเวลา 3 - 5 วัน เมื่อระดูมา ให้หยุดรับประทาน
กรณีปวดประจำเดือน
ในกรณีที่มีอาการปวดประจำเดือนเป็นประจำ ให้รับประทานยา
ก่อนมีประจำเดือน 2 - 3 วันไปจนถึงวันแรกและวันที่สองที่มีประจำเดือน
ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน
รับประทานครั้งละ 1 กรัมวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
กรณีขับน้ำคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร
ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ให้รับประทานจนกว่าน้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน
ชนิดลูกกลอน ชนิดเม็ด ชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ให้รับประทานจนกว่าน้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
- ห้ามรับประทานในหญิงที่มีระดูมากกว่าปกติเพราะจะทำให้มีการขับระดูออกมามากขึ้น
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของ
ตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- กรณีระดูมาไม่สม่ำเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 1 เดือน
180
- กรณีขับน้ำคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย
1. พริกไทยล่อน หนัก 50 กรัม
2. ดอกดีปลีรากช้าพลู ผักแพวแดง (ทั้งต้น) เถาสะค้าน เหง้าขิงแห้ง ลูกผักชีล้อม
เหง้าว่านน้ำ หัวแห้วหมูผิวมะกรูด ลูกพิลังกาสา หนักสิ่งละ 5 กรัม
ข้อบ่งใช้ กระตุ้นน้ำนม กระจายเลือดลมในหญิงหลังคลอด
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ
rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก
ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ แพทย์แผนไทยดั้งเดิม ใช้เป็นยาแทนการอยู่ไฟของหญิงหลังคลอด
(3) ยาไฟประลัยกัลป์ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 71 กรัม ประกอบด้วย
1. รากเจตมูลเพลิงแดง สารส้มสะตุ แก่นแสมทะเล ผิวมะกรูด การบูร หนักสิ่งละ 6 กรัม
2. เหง้าขมิ้นอ้อย เหง้ากระทือ เหง้าข่า เหง้าไพล เปลือกมะรุม หนักสิ่งละ 5 กรัม
3. พริกไทยล่อน เหง้าขิง ดอกดีปลี หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 4 กรัม
ข้อบ่งใช้ ขับน้ำคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ให้รับประทานจนกว่าน้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ให้รับประทานจนกว่าน้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีไข้
- ห้ามใช้ในหญิงที่ผ่าคลอด เนื่องจากทำให้แผลหายช้า
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(4) ยาไฟห้ากอง ยาผง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย
รากเจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิง พริกไทยล่อน สารส้มสะตุ ฝักส้มป่อย หนักสิ่งละ 20 กรัม
ข้อบ่งใช้ ขับน้ำคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
181
รับประทานครั้งละ 1 – 1.5 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ให้รับประทานจนกว่าน้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน
ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 1 – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ให้รับประทานจนกว่าน้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
- ห้ามใช้หญิงที่ผ่าคลอด เนื่องจากทำให้แผลหายช้า
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(5) ยาเลือดงาม ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 102 กรัม ประกอบด้วย
1. เหง้าขิงแห้ง ตะไคร้บ้าน (ลำต้น) สะระแหน่(ทั้งต้น) เหง้ากระชาย เหง้ากระทือ
ผิวมะกรูด ใบมะนาว รากและใบกะเพรา หัวกระเทียม เปลือกเพกา โกฐจุฬาลัมพา
ช้าพลู(ทั้งต้น) ลูกเร่วหอม ลูกจันทน์ ดอกกานพลูดอกดีปลี เหง้าไพล พริกไทยล่อน
รากเจตมูลเพลิงแดง รากชะเอมเทศ หนักสิ่งละ 5 กรัม
2. พิมเสน การบูร หนักสิ่งละ 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดประจำเดือน ช่วยให้ประจำเดือนมาเป็นปกติ แก้มุตกิด
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 – 2 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 1 – 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต
เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(6) ยาสตรีหลังคลอด ยาต้ม (รพ.)
สูตรตำรับ ในยา 130 กรัม ประกอบด้วย
1. แก่นแกแล แก่นขนุน ว่านชักมดลูก แก่นฝางเสน เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิงแดง
ดอกดีปลี โกฐเชียง เถากำแพงเจ็ดชั้น หนักสิ่งละ 10 กรัม
2. พริกไทยล่อน รากช้าพลู ดอกคำฝอย ดอกมะลิ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี
เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 5 กรัม
ข้อบ่งใช้ ขับน้ำคาวปลา บำรุงเลือด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วในหญิงหลังคลอด
ขนาดและวิธีใช้ นำยาใส่น้ำพอท่วม ต้มด้วยไฟปานกลาง นานครึ่งชั่วโมง นำเฉพาะส่วนน้ำมารับประทาน
ครั้งละ 250 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร หรือดื่มแทนน้ำ
รับประทานติดต่อกัน 1 สัปดาห์หรือจนกว่าน้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีไข้
182
ข้อควรระวัง - ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant)
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ - แพทย์แผนไทยดั้งเดิม ใช้เป็นยาแทนการอยู่ไฟของหญิงหลังคลอด
- ยา 1 ห่อ ใช้ติดต่อกันประมาณ 5 - 7 วัน โดยให้อุ่นน้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนการ
รับประทานยา
1.4 ยาแก้ไข้
(1) ยาเขียวหอม ยาผง ยาเม็ด (รพ.) ยาผง (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย
ใบพิมเสน ใบผักกระโฉม ใบหมากผู้ ใบหมากเมีย ใบสันพร้าหอม รากแฝกหอม
หัวเปราะหอม แก่นจันทน์ขาวหรือจันทร์ชะมด แก่นจันทน์แดง ว่านกีบแรด ว่าน
ร่อนทอง เนระพูสี พิษนาศน์ มหาสดำ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง
หนักสิ่งละ 5 กรัม
ข้อบ่งใช้ 1. บรรเทาอาการไข้ร้อนในกระหายน้ำ
2. แก้พิษหัด พิษอีสุกอีใส (บรรเทาอาการไข้จากหัดและอีสุกอีใส)
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 – 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ำกระสายยา
ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้
? กรณีบรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ำ ใช้น้ำสุก หรือน้ำดอกมะลิ
เป็นน้ำกระสายยา
? กรณีแก้พิษหัด พิษอีสุกอีใส ละลายน้ำรากผักชีต้ม เป็นน้ำกระสายยา
ทั้งรับประทาน และชโลม
หมายเหตุ
การชโลมใช้ยาผงละลายน้ำ 1 ต่อ 3 แล้วชโลม (ประพรม) ทั่วตามตัวบริเวณที่
ตุ่มใสยังไม่แตก
ชนิดเม็ด
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
- ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
183
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม - ทางการแพทย์แผนไทย แนะนำให้ผู้ป่วยหัด อีสุกอีใส ห้ามรับประทานอาหารทะเล
ไข่ และน้ำเย็น เนื่องจากผิดสำแดง
- ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมี
การจำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
(2) ยาจันทน์ลีลา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 99 กรัม ประกอบด้วย
โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา แก่นจันทน์ขาวหรือจันทร์ชะมด แก่นจันทน์แดง ลูก
กระดอม เถาบอระเพ็ด รากปลาไหลเผือก หนักสิ่งละ 12 กรัม พิมเสน หนัก 3 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน้ำสุก ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ำสุก ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
เมื่อมีอาการ
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม แนะนำให้ใช้ยาจันทน์ลีลาได้ในหญิงที่มีไข้ทับระดูหรือไข้ระหว่างมีประจำเดือน
(3) ยาประสะจันทน์แดง ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 64 กรัม ประกอบด้วย
1. แก่นจันทน์แดง หนัก 32 กรัม
2. รากเหมือดคน รากมะปรางหวาน รากมะนาว หัวเปราะหอม โกฐหัวบัว
แก่นจันทน์เทศ แก่นฝางเสน หนักสิ่งละ 4 กรัม
3. เกสรบัวหลวง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกมะลิ หนักสิ่งละ 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน (ไข้พิษ) แก้ร้อนในกระหายน้ำ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ำกระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
184
น้ำกระสายที่ใช้ ใช้น้ำสุก หรือน้ำดอกมะลิ
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
เด็ก อายุ 6 - 12 ปีรับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
- ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
- กรณีบรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ำ หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้วอาการ
ไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(4) ยาประสะเปราะใหญ่ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 80 กรัม ประกอบด้วย
1. หัวเปราะหอม หนัก 40 กรัม
2. โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว
เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู
แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทน์แดง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกพิกุล เกสรบัวหลวง
หนักสิ่งละ 2 กรัม
ข้อบ่งใช้ ถอนพิษไข้ตานซางสำหรับเด็ก
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผงและชนิดเม็ด
เด็ก อายุ 1 – 5 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
น้ำกระสายยาที่ใช้
? น้ำดอกไม้เทศหรือน้ำสุก
ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล
เด็ก อายุ 6 – 12 ปี(รพ.) รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant)
และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
- ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ชนิดเม็ดที่ใช้ละลายน้ำกระสายยา เป็นชนิดเม็ดแบบอัดเปียก
185
(5) ยามหานิลแท่งทอง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 103 กรัม ประกอบด้วย
1. เนื้อในเมล็ดสะบ้ามอญ (สุม) หวายตะค้า (สุม) เมล็ดมะกอก (สุม) ลูกมะคำดีควาย (สุม)
ถ่านไม้สัก แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์เทศ ใบพิมเสน ใบย่านาง หมึกหอม หนักสิ่งละ 10 กรัม
2. เบี้ยจั่นคั่วให้เหลือง 3 กรัม
ข้อบ่งใช้ 1. แก้ไข้กาฬ หัด อีสุกอีใส (บรรเทาอาการไข้จากไข้กาฬ หัด และอีสุกอีใส)
2. แก้ร้อนในกระหายน้ำ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1.5 - 2 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น
ก่อนอาหาร
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน้ำสุก
วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1.5 - 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(6) ยาห้าราก ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย
รากย่านาง รากคนทา รากมะเดื่อชุมพร รากชิงชี่ รากไม้เท้ายายม่อม หนักสิ่งละ 20 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 – 1.5 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
เมื่อมีอาการ
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
186
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
- ไม่แนะนำให้ใช้ในหญิงที่มีไข้ทับระดูหรือไข้ระหว่างมีประจำเดือน
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
1.5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
1.5.1 ยาบรรเทาอาการไอ
(1) ยาแก้ไอผสมกานพลู ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย
รากชะเอมเทศ หนัก 48 กรัม บ๊วย หนัก16 กรัม มะนาวดองแห้ง หนัก 10 กรัม
น้ำตาลกรวด หนัก 4 กรัม พิมเสน เกล็ดสะระแหน่ หนักสิ่งละ 3 กรัม เหง้าว่านน้ำ
ผลมะแว้งเครือ ดอกกานพลู เนื้อลูกสมอพิเภก เปลือกอบเชย เนื้อลูกมะขามป้อม
ดอกเก็กฮวย หล่อฮั่งก๊วย ผิวส้มจีน หนักสิ่งละ 2 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้ อมครั้งละ 200 - 300 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย เนื่องจากมะขามป้อมมีฤทธิ์เป็นยาระบาย
อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม ยาน้ำ (รพ.)
สูตรตำรับที่ 1 ในยา 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย
สารสกัดน้ำมะขามป้อมเข้มข้น ร้อยละ 40 60 มิลลิลิตร สารสกัดใบเสนียด 10
มิลลิลิตร
กลีเซอรีน 5 มิลลิลิตร เกลือแกง 0.5 มิลลิลิตร สารสกัดรากชะเอมเทศ 0.45 มิลลิลิตร
แอลกอฮอล์ร้อยละ 95 0.05 มิลลิลิตร เกล็ดสะระแหน่ 0.01 มิลลิกรัม
สูตรตำรับที่ 2 ในยา 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย
สารสกัดน้ำมะขามป้อมเข้มข้น ร้อยละ 25 30 มิลลิลิตร มะนาวดองแห้ง 8 มิลลิกรัม
สารสกัดรากชะเอมเทศ 5 มิลลิลิตร ผิวส้มจีน 3.3 มิลลิกรัม บ๊วย 3 มิลลิกรัม
เนื้อลูกสมอพิเภก 3 มิลลิกรัม เนื้อลูกสมอไทย 1 มิลลิกรัม หล่อฮังก๊วย 2 มิลลิกรัม
เกล็ดสะระแหน่ 0.08 มิลลิกรัม น้ำตาลทรายแดง 40 มิลลิกรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้ จิบเมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย เนื่องจากมะขามป้อมมีฤทธิ์เป็นยาระบาย
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
187
(3) ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 99 กรัม ประกอบด้วย
1. มะนาวดองแห้ง บ๊วย หนักสิ่งละ 35 กรัม รากชะเอมเทศ หนัก 17 กรัม รากชะเอม
ไทย หนักสิ่งละ 3 กรัม ผลมะแว้งเครือ หนักสิ่งละ 2 กรัม เนื้อลูกมะขามป้อม หนัก 1
กรัม
2. เปลือกอบเชยญวณ หนัก 3 กรัม ดอกกานพลู หนัก 1 กรัม
3. เกล็ดสะระแหน่ หนัก 2 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 200 - 300 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(4) ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน ยาน้ำ (รพ.)
สูตรตำรับ ในยาน้ำ 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย
1. เนื้อลูกมะขามป้อมแห้ง 2 กรัม รากชะเอมไทย 1.8 กรัม เนื้อลูกสมอไทย 1.6 กรัม
รากชะเอมเทศ หนัก 600 มิลลิกรัม
2. เหง้าขมิ้นอ้อย กะเพราแดง (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 600 มิลลิกรัม ดอกดีปลี เหง้าขิง 200
มิลลิกรัม พริกไทยล่อน ช้าพลู (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 100 มิลลิกรัม ดอกกานพลู 60
มิลลิกรัม
3. เกลือสินเธาว์สะตุ 400 มิลลิกรัม สารส้มสะตุ140 มิลลิกรัม
4. โกฐจุฬาลัมพา หนัก 100 มิลลิกรัม
5. น้ำตาลทรายแดง 5 กรัม เกล็ดสะระแหน่30 มิลลิกรัม น้ำผึ้ง 5 มิลลิกรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้ จิบเมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(5) ยาตรีผลา ยาลูกกลอน ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย
เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอพิเภก เนื้อลูกมะขามป้อม หนักสิ่งละ 30 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 – 200 มิลลิลิตร
ทิ้งไว้3 - 5 นาที ดื่มในขณะยังอุ่น เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน และชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 300 - 600 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการไอ วันละ 3 - 4 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ -
188
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย
อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(6) ยาประสะมะแว้ง ยาเม็ด ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 96 กรัม ประกอบด้วย
1. ผลมะแว้งต้น ผลมะแว้งเครือ หนักสิ่งละ 24 กรัม
2. ใบสวาด ใบตานหม่อน ใบกะเพรา หนักสิ่งละ 12 กรัม
3. เหง้าขมิ้นอ้อย หนัก 9 กรัม สารส้มสะตุ หนัก 3 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทำให้ชุ่มคอ ช่วยขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 – 1.4 กรัม เมื่อมีอาการ
ละลายน้ำมะนาวแทรกเกลือรับประทาน
เด็ก อายุ 6 - 12 ปีรับประทานครั้งละ 200 - 400 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการ
ละลายน้ำมะนาวแทรกเกลือรับประทาน
ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน
ผู้ใหญ่
รับประทานครั้งละ 1 – 1.4 กรัม เมื่อมีอาการ ละลายน้ำมะนาวแทรกเกลือ
รับประทาน หรือใช้อม
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 200 - 400 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการ
ละลายน้ำมะนาวแทรกเกลือรับประทาน หรือใช้อม
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
- ในผู้ป่วยที่ต้องจำกัดการใช้เกลือ ไม่ควรใช้น้ำมะนาวแทรกเกลือ
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(7) ยาอำมฤควาที ยาผง ยาลูกกลอน ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 70 กรัม ประกอบด้วย
1. รากชะเอมเทศ หนัก 35 กรัม
2. โกฐพุงปลา เทียนขาว ลูกผักชีลา เนื้อลูกมะขามป้อม เนื้อลูกสมอพิเภก หนักสิ่งละ 7 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม
ละลายน้ำกระสายยา เมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้ละลายน้ำมะนาวแทรกเกลือ ใช้จิบหรือกวาดคอ
ชนิดลูกกลอน
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการ
189
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง ในผู้ป่วยที่ต้องจำกัดการใช้เกลือ ไม่ควรใช้น้ำมะนาวแทรกเกลือ
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ในสูตรตำรับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่าไคร้เครือที่ใช้และมีการ
จำหน่ายในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุล Aristolochia
มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
1.5.2 ยาบรรเทาอาการหวัด
(1) ยาปราบชมพูทวีป ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 465 กรัม ประกอบด้วย
1. เหงือกปลาหมอ (ทั้งต้น) พริกไทยดำ ใบกัญชาเทศ หนักสิ่งละ 120 กรัม
2. หัศคุณเทศ ดอกกานพลู หนักสิ่งละ 10 กรัม หัวบุกรอ เนื้อลูกสมอเทศ
เนื้อลูกสมอไทย รากเจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิง หนักสิ่งละ 8 กรัม
3. เทียนแดง เทียนตาตั๊กแตน เทียนแกลบ หนักสิ่งละ 6 กรัม เทียนดำ โกฐสอ
โกฐเขมา ลูกพิลังกาสา ลำพันหางหมูหนักสิ่งละ 4 กรัม
4. ดอกดีปลี การบูร หนักสิ่งละ 2 กรัม ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน หนักสิ่งละ 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการหวัดในระยะแรก และอาการเนื่องจากการแพ้อากาศ
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 750 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้เมื่อพบภาวะแทรกซ้อนจากภาวะการแพ้อากาศ เช่น ไซนัสอักเสบ หรือ
ติดเชื้อจากแบคทีเรียซึ่งจะมีอาการเจ็บบริเวณไซนัส ไข้สูง น้ำมูกและเสมหะเขียว
- ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ เด็ก
ข้อควรระวัง - ควรระวังการบริโภคในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติก
และกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตำรับยารสร้อน
- ควรระวังการใช้ยาเกินขนาดในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไตและทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากอาจเกิดพิษจากการบูร
- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ
rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก
ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ -
1.6 ยาบำรุงโลหิต
(1) ยาบำรุงโลหิต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 75 กรัม ประกอบด้วย
1. แก่นฝาง ดอกคำไทย หนักสิ่งละ 10 กรัม
2. ครั่ง หนัก 4 กรัม
190
3. เหง้าขิงแห้ง ดอกดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง เถาสะค้าน รากช้าพลู เถาขมิ้นเครือ
เถามวกแดง แก่นกำลังวัวเถลิง ดอกสารภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค เกสรบัวหลวง
หนักสิ่งละ 2 กรัม
4. ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว
เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา
หนักสิ่งละ 1 กรัม
5. เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอดีงู เนื้อลูกสมอพิเภก เปลือกชะลูด เปลือกอบเชยเทศ
แก่นจันทน์แดง แก่นแสมสาร แก่นแสมทะเล กฤษณา หนักสิ่งละ 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ บำรุงโลหิต
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยาวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น
ก่อนอาหาร
น้ำกระสายยาที่ใช้
? ใช้น้ำต้มดอกคำไทย หรือดอกคำฝอย เป็นน้ำกระสายยา
? ถ้าหาน้ำกระสายไม่ได้ให้ใช้น้ำสุกแทน
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ใน หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
- ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
1.7.1ยาสำหรับรับประทาน
(1) ยากษัยเส้น ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 236 กรัม ประกอบด้วย
1. ดอกดีปลี หนัก 40 กรัม เหง้าขิง หนัก 20 กรัม รากช้าพลูหนัก 24 กรัม
เถาสะค้าน หนัก 12 กรัม รากเจตมูลเพลิงแดง หนัก 8 กรัม
2. เถาโคคลาน กำลังวัวเถลิง เถาวัลย์เปรียง เถาพริกไทย เถาม้ากระทืบโรง หัวกระชาย
แก่นแสมสาร เหง้าไพล หนักสิ่งละ 10 กรัม
3. การบูร หนัก 6 กรัม ลูกจันทน์ ดอกกานพลู เหง้าว่านน้ำ เหง้ากระทือ ลูกกระวาน
พริกไทยล่อน รากชะเอมเทศ เปลือกอบเชยเทศ หนักสิ่งละ 4 กรัม
4. ดอกจันทน์ โกฐน้ำเต้า ดอกมะลิดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง
หนักสิ่งละ 2 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดเมื่อยตามร่างกาย
191
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 750 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็ก
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
- ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ยาผง (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 70 กรัม ประกอบด้วย
1. เหง้าไพล เหง้าขมิ้นอ้อย เหง้าข่า หัวกระเทียม รากเจตมูลเพลิงแดง พริกไทยล่อน
ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ การบูร หนักสิ่งละ 5 กรัม
2. ผักเสี้ยนผี(ทั้งต้น) เปลือกต้นทองหลาง เปลือกต้นกุ่มบก เปลือกต้นกุ่มน้ำ
เกลือสินเธาว์ หนักสิ่งละ 5 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดตามเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ มือ เท้า ตึงหรือชา
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ชงน้ำร้อนดื่มประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ผู้ที่มีไข้และเด็ก
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก
ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ -
(3) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 160 กรัม ประกอบด้วย
1. พริกไทยล่อน หนัก 96 กรัม
2. ยาดำสะตุ หนัก 20 กรัม
3. เนื้อลูกสมอไทย มหาหิงคุ์ การบูร หนักสิ่งละ 6 กรัม
4. รงทองประสะ หนัก 4 กรัม
5. ผักแพวแดง เนื้อลูกมะขามป้อม หนักสิ่งละ 2 กรัม
6. ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู เทียนดำ เทียนขาว หัวดองดึง หัวบุก
หัวกลอย หัวกระดาดขาว หัวกระดาดแดง ลูกเร่ว เหง้าขิง รากชะเอมเทศ
รากเจตมูลเพลิงแดง โกฐกระดูก โกฐเขมา โกฐน้ำเต้า หนักสิ่งละ 1 กรัม
ข้อบ่งใช้ แก้กษัยเส้น
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน้ำสุกหรือผสมน้ำผึ้งปั้นเป็น
ลูกกลอนวันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน และชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
192
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็ก
ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ
rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
- ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(4) ยาผสมโคคลาน ยาชง (รพ.) ยาต้ม (รพ.)
สูตรตำรับที่ 1
รูปแบบ ยาชง
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย เถาโคคลาน โด่ไม่รู้ล้ม ผลมะตูมอ่อน ทองพันชั่ง (ทั้งต้น)
หนักสิ่งละ25 กรัม
สูตรตำรับที่ 2
รูปแบบ ยาต้ม
สูตรตำรับ ในยา 105 กรัม ประกอบด้วยเถาโคคลาน หนัก 50 กรัม ส่วนเหนือดินทองพันชั่ง
หนัก 25 กรัม โด่ไม่รู้ล้ม ผลมะตูมอ่อน หนักสิ่งละ 15 กรัม
สูตรตำรับที่ 3
รูปแบบ ยาต้ม
สูตรตำรับ ในยา 100 กรัม ประกอบด้วย เถาโคคลาน เถาเอ็นอ่อน แก่นฝาง เถาสะค้าน
หนักสิ่งละ 20 กรัม โด่ไม่รู้ล้ม ทองพันชั่ง (ทั้งต้น) หนักสิ่งละ 10 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ชนิดต้ม นำตัวยาทั้งหมดมาเติมให้น้ำท่วมตัวยา ต้มน้ำเคี่ยว สามส่วนเหลือหนึ่งส่วน ดื่ม
ครั้งละ 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม โคคลานในที่นี้ คือ โพคาน ซึ่งเป็นสมุนไพรที่มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า
Mallotus repandus (Willd.) M?ll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae
(5) ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับที่ 1 ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย เถาวัลย์เปรียง แก่นดูกหิน (มะดูก) แก่นดูกใส
(ขันทองพยาบาท) เหง้าไพล หนักสิ่งละ 25 กรัม
สูตรตำรับที่ 2 ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย เหง้าไพล หนัก 40 กรัม เถาวัลย์เปรียง แก่นดูกหิน
(มะดูก) แก่นดูกใส (ขันทองพยาบาท) หนักสิ่งละ 20 กรัม
193
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้ง 900 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่เป็นแผลในกระเพาะอาหารเนื่องจากเถาวัลย์เปรียงมีกลไก
ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับยาแก้ปวดในกลุ่มยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
(Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drugs: NSAIDs)
- อาจทำให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร
อาการไม่พึงประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง และใจสั่น
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(6) ยาสหัศธารา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอนยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 1,000 กรัม ประกอบด้วย
1. พริกไทยล่อน หนัก 240 กรัม รากเจตมูลเพลิงแดง หนัก 224 กรัม ดอกดีปลี
หนัก 96 กรัม หัศคุณเทศ หนัก 48 กรัม
2. เนื้อลูกสมอไทย หนัก 104 กรัม รากตองแตก หนัก 80 กรัม
3. เหง้าว่านน้ำ หนัก 88 กรัม
4. การบูร หนัก 14 กรัม ดอกจันทน์ หนัก 13 กรัม เทียนแดง หนัก 11 กรัม
ลูกจันทน์ หนัก 12 กรัม เทียนตาตั๊กแตน มหาหิงคุ์ หนักสิ่งละ 10 กรัม
เทียนสัตตบุษย์ หนัก 9 กรัม เทียนขาว รากจิงจ้อ หนักสิ่งละ 8 กรัม เทียนดำ หนัก 7
กรัม โกฐกักกรา หนัก 6 กรัม โกฐเขมาหนัก 5 กรัม โกฐก้านพร้าว หนัก 4 กรัม
โกฐพุงปลา หนัก 3 กรัม
ข้อบ่งใช้ ขับลมในเส้น แก้โรคลมกองหยาบ
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการบริโภคในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติก
และกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตำรับยารสร้อน
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ
rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
อาการไม่พึงประสงค์ ร้อนท้อง แสบท้อง คลื่นไส้ คอแห้ง ผื่นคัน
ข้อมูลเพิ่มเติม -
1.7.2 ยาสำหรับใช้ภายนอก
(1) ยาขี้ผึ้งไพล ยาขี้ผึ้ง (รพ.)
สูตรตำรับที่ 1 ในยา 100 กรัม ประกอบด้วย
น้ำมันไพลจากการทอดกับน้ำมันพืช 30 กรัม น้ำมันระกำ 10 กรัม
สูตรตำรับที่ 2 ยา 100 กรัม ประกอบด้วย น้ำมันไพลจากการกลั่น 14 กรัม น้ำมันระกำ 10 กรัม
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อย
194
ขนาดและวิธีใช้ ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2 - 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ - ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
- ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาประคบ ยาประคบสมุนไพรสด (รพ.) ยาประคบสมุนไพรแห้ง (รพ.)
สูตรตำรับ ในยา 130 กรัม ประกอบด้วย
1. เหง้าไพล 50 กรัม ใบมะขาม 30 กรัม ผิวมะกรูด 20 กรัม เหง้าขมิ้นชัน 10 กรัม
ตะไคร้(ลำต้น) 10 กรัม ใบส้มป่อย 10 กรัม
2. เกลือเม็ด 1 ช้อนโต๊ะ การบูร 2 ช้อนโต๊ะ
ข้อบ่งใช้ ประคบเพื่อลดอาการปวด และ ช่วยคลายกล้ามเนื้อ เอ็น และ ข้อ กระตุ้นหรือเพิ่มการ
ไหลเวียนของโลหิต
ขนาดและวิธีใช้ นำยาประคบไปนึ่ง แล้วใช้ประคบ ขณะยังอุ่น วันละ 1 - 2 ครั้ง ลูกประคบ 1 ลูก
สามารถใช้ได้ 3 - 4 ครั้ง โดยหลังจากใช้แล้วผึ่งให้แห้ง ก่อนนำไปแช่ตู้เย็น
ข้อห้ามใช้ - ห้ามประคบบริเวณที่มีบาดแผล
- ห้ามประคบเมื่อเกิดการอักเสบเฉียบพลัน เช่น ข้อเท้าแพลง หรือมีอาการอักเสบ
บวม แดง ร้อน ในช่วง 24 ชั่วโมงแรก เนื่องจากจะทำให้อักเสบบวมมากขึ้น และ
อาจมีเลือดออกมากตามมาได้โดยควรประคบหลัง 24 ชม.
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังที่เคยเป็นแผลมาก่อนหรือ
บริเวณที่มีกระดูกยื่น และต้องระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยโรคเบาหวาน อัมพาต เด็ก และ
ผู้สูงอายุเพราะมักมีความรู้สึกในการรับรู้และตอบสนองช้า อาจทำให้ผิวหนังไหม้พองได้ง่าย
- หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรอาบน้ำทันที เพราะเป็นการล้างตัวยาจาก
ผิวหนัง และร่างกายยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน (จากร้อนเป็นเย็นทันทีทันใด) อาจทำให้
เกิดเป็นไข้ได้
- ควรระวังการใช้ในผู้ที่แพ้ส่วนประกอบในยาประคบ
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม 1) ยาประคบสมุนไพรสด ผลิตจากสมุนไพรสด (เก็บได้ประมาณ 3 วัน) น้ำหนักไม่น้อยกว่า
ลูกละ 400 กรัม
2) ยาประคบสมุนไพรแห้ง ผลิตจากสมุนไพรแห้ง (เก็บได้ประมาณ 2 ปี) น้ำหนักไม่น้อยกว่า
ลูกละ 200 กรัม
1.8 ยาบำรุงธาตุ ปรับธาตุ
(1) ยาตรีเกสรมาศ ยาชง (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย
เปลือกฝิ่นต้น เกสรบัวหลวง ลูกมะตูมอ่อน หนักสิ่งละ 30 กรัม
ข้อบ่งใช้ แก้อ่อนเพลีย ปรับธาตุในผู้ป่วยที่เพิ่งฟื้นจากการเจ็บป่วย เช่น ไข้ ท้องเสีย
195
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร ดื่มขณะยายังอุ่น
วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่ควรรับประทานติดต่อกันเกิน 1 เดือน
- หากใช้เกินจากขนาดที่แนะนำ อาจจะทำให้ท้องผูก
- ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาตรีพิกัด ยาแคปซูล (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย
1. เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอพิเภก เนื้อลูกมะขามป้อม หนักสิ่งละ 10 กรัม
2. เหง้าขิงแห้ง พริกไทยล่อน ดอกดีปลีหนักสิ่งละ 10 กรัม
3. รากเจตมูลเพลิงแดง รากช้าพลู เถาสะค้าน หนักสิ่งละ 10 กรัม
ข้อบ่งใช้ ปรับสมดุลธาตุ
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 250 – 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ยานี้ในฤดูร้อน ส่งผลให้ไฟธาตุกำเริบ
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytonin, propranolol, theophylline และ
rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยและดอกดีปลีในปริมาณสูง
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(3) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย ดอกดีปลี รากช้าพลูเถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิงแดง
เหง้าขิงแห้ง หนักสิ่งละ 20 กรัม
ข้อบ่งใช้ บำรุงธาตุ แก้ธาตุให้ปกติ
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 เวลา หลังอาหาร
ชนิดลูกกลอน ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กเล็ก
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ยานี้ในฤดูร้อน จะส่งผลให้ไฟธาตุกำเริบ
- ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(4) ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
สูตรตำรับ ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย
196
1. พริกไทยล่อน หนัก 50 กรัม
2. ดอกดีปลีรากช้าพลู ผักแพวแดง (ทั้งต้น) เถาสะค้าน เหง้าขิงแห้ง ลูกผักชีล้อม
เหง้าว่านน้ำ หัวแห้วหมูผิวมะกรูด ลูกพิลังกาสา หนักสิ่งละ 5 กรัม
ข้อบ่งใช้ ปลูกไฟธาตุให้บริบูรณ์ ปรับระบบการย่อยอาหารให้ดีขึ้น
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin
เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก
ข้อมูลเพิ่มเติม -
197
กลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร 21 รายการ
2.1 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร
2.1.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
(1) ยาขมิ้นชัน ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงเหง้าขมิ้นชัน (Curcuma longa L.) มีสารสำคัญ curcuminoids ไม่น้อยกว่าร้อยละ
5 โดยน้ำหนัก (w/w) และน้ำมันระเหยง่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 6 โดยปริมาตรต่อน้ำหนัก
(v/w)
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่ท่อน้ำดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดียกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
- ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
- ควรระวังการใช้ในเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย
- ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และ ยาต้านการจับตัว
ของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome
P450 (CYP) เนื่องจากสาร curcumin ยับยั้ง CYP3A4, CYP1A2 แต่กระตุ้นเอนไซม์
CYP2A6
- ควรระวังการใช้ร่วมกับ ยารักษาโรคมะเร็งบางชนิด เช่น doxorubicin, chlormethine,
cyclophosphamide และcamptothecin เนื่องจาก curcumin อาจมีผลต้านฤทธิ์ยา
ดังกล่าว
อาการไม่พึงประสงค์ ผิวหนังอักเสบจากการแพ้
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาขิง ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงเหง้าขิง (Zingiber officinale Rosc.) ที่มีน้ำมันหอมระเหย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 โดย
ปริมาตรต่อน้ำหนัก (v/w)
ข้อบ่งใช้ 1. บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด
2. ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน จากการเมารถ เมาเรือ
3. ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด
ขนาดและวิธีใช้ - บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด
รับประทานวันละ 2 – 4 กรัม
- ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการเมารถ เมาเรือ
รับประทานวันละ 1 – 2 กรัม ก่อนเดินทาง 30 นาที – 1 ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ
- ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ก่อนการผ่าตัด 1 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ -
198
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัว
ของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
- ไม่แนะนำให้รับประทานในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ขวบ
อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ
ข้อมูลเพิ่มเติม -
2.1.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก
(1) ยาชุมเห็ดเทศ ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงใบชุมเห็ดเทศ [Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L. (ชื่อพ้อง)] ที่มี
สารสำคัญ hydroxyanthracene derivatives โดยคำนวณเป็น rhein-8-glucoside
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.0 โดยน้ำหนัก (w/w)
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผูก
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที
วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ ผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction) หรือปวดท้อง
โดยไม่ทราบสาเหตุ
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี หรือในผู้ป่วย inflammatory bowel disease
- การรับประทานยาในขนาดสูงอาจทำให้เกิดไตอักเสบ (nephritis)
- ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เพราะจะทำให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสีย
น้ำและเกลือแร่มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และทำให้ลำไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้
ยาจะไม่ถ่าย
- ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
อาการไม่พึงประสงค์ อาจทำให้เกิดอาการปวดมวนท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้ใหญ่
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยามะขามแขก ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงใบมะขามแขก (Senna alexandrina Mill.)
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผูก
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 2 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร ก่อนนอน
ชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1.2 กรัม ก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ ผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction) หรือปวดท้อง
โดยไม่ทราบสาเหตุ
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี หรือในผู้ป่วย inflammatory bowel
disease
199
- การรับประทานยาในขนาดสูง อาจทำให้เกิดไตอักเสบ (nephritis)
- ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะจะทำให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียน้ำ
และเกลือแร่มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และการใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
จะทำให้ลำไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย
- ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
อาการไม่พึงประสงค์ ปวดมวนท้อง ผื่นคัน
ข้อมูลเพิ่มเติม -
2.1.3 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย
(1) ยากล้วย ยาผง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงกล้วยน้ำว้าชนิดแก่จัด [Musa sp.(ABB group) "Klui Nam Wa"]
หรือกล้วยหักมุกชนิดแก่จัด [Musa sp. (ABB group ) “triploid” cv.]
ข้อบ่งใช้ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น
อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 10 กรัม ชงน้ำร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง
ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ในคนที่ท้องผูก
- การรับประทานติดต่อกันนาน ๆ อาจทำให้ท้องอืดได้
อาการไม่พึงประสงค์ ท้องอืด
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงจากส่วนเหนือดินของฟ้าทะลายโจร [Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall.
ex Nees] ที่มีสารสำคัญ total lactone โดยคำนวณเป็น andrographolide ไม่น้อย
กว่าร้อยละ 6 โดยน้ำหนัก (w/w)
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 2 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร
- ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร เนื่องจากอาจทำให้เกิดทารกวิรูปได้
ข้อควรระวัง - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง
- หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วัน แล้วไม่หาย หรือ มีอาการรุนแรงขึ้นระหว่างใช้ยา
ควรหยุดใช้และพบแพทย์
- ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัว
ของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450
(CYP) เนื่องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP1A2, CYP2C9 และ CYP3A4
200
อาการไม่พึงประสงค์ อาจทำให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบื่อ
อาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้
ข้อมูลเพิ่มเติม -
2.1.4 กลุ่มยารักษาแผลในกระเพาะอาหาร
(1) ยากล้วย ยาผง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงกล้วยน้ำว้าชนิดแก่จัด [Musa sp.(ABB group) "Klui Nam Wa"]
หรือกล้วยหักมุกชนิดแก่จัด [Musa sp. (ABB group ) “triploid” cv.]
ข้อบ่งใช้ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 10 กรัม ชงน้ำร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง
ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ในคนที่ท้องผูก
- การรับประทานติดต่อกันนาน ๆ อาจทำให้ท้องอืดได้
อาการไม่พึงประสงค์ ท้องอืด
ข้อมูลเพิ่มเติม -
2.1.5 กลุ่มยาบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน
(1) ยาขิง ยาแคปซูล ยาชง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงเหง้าขิง (Zingiber officinale Rosc.) ที่มีน้ำมันหอมระเหย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 โดย
ปริมาตรต่อน้ำหนัก (v/w)
ข้อบ่งใช้ 1. บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ
2. ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน จากการเมารถ เมาเรือ
3. ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด
ขนาดและวิธีใช้ - บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด
รับประทานวันละ 2 – 4 กรัม
- ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการเมารถ เมาเรือ
รับประทานวันละ 1 – 2 กรัม ก่อนเดินทาง 30 นาที – 1 ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ
- ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ก่อนการผ่าตัด 1 ชั่วโมง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัว
ของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
- ไม่แนะนำให้รับประทานในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ขวบ
อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ
ข้อมูลเพิ่มเติม -
201
2.2 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
(1) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงจากส่วนเหนือดินของฟ้าทะลายโจร [Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall.
ex Nees] ที่มีสารสำคัญ total lactone โดยคำนวณเป็น andrographolide ไม่น้อย
กว่าร้อยละ 6 โดยน้ำหนัก (w/w)
ข้อบ่งใช้ 1. บรรเทาอาการเจ็บคอ
2. บรรเทาอาการของโรคหวัด (common cold) เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ขนาดและวิธีใช้ บรรเทาอาการหวัด เจ็บคอ รับประทานครั้งละ 1.5 – 3 กรัม
วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร
- ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร เนื่องจากอาจทำให้เกิดทารกวิรูปได้
- ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสำหรับแก้เจ็บคอในกรณีต่าง ๆ ต่อไปนี้
- ในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากติดเชื้อ Streptococcus group A
- ในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติดเชื้อ Streptococcus group A
- ในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค
- ในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากมีการติดเชื้อแบคทีเรีย และมีอาการรุนแรง เช่น
มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สูง และหนาวสั่น
ข้อควรระวัง - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง
- หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วัน แล้วไม่หาย หรือ มีอาการรุนแรงขึ้นระหว่างใช้ยา
ควรหยุดใช้และพบแพทย์
- ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัว
ของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450
(CYP) เนื่องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP1A2, CYP2C9 และ CYP3A4
อาการไม่พึงประสงค์ อาจทำให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้
เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้
ข้อมูลเพิ่มเติม -
2.3 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง
(1) ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ทิงเจอร์(รพ.)
ตัวยาสำคัญ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์จากใบทองพันชั่งสด (Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz) ร้อยละ
10โดยน้ำหนักต่อปริมาตร (w/v)
ข้อบ่งใช้ ทาแก้กลากเกลื้อน โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา น้ำกัดเท้า
ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น
ทาจนกว่าจะหาย และใช้ต่อเนื่องอีกอย่างน้อย 2 สัปดาห์
202
ข้อห้ามใช้ ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยาทิงเจอร์พลู ทิงเจอร์(รพ.)
ตัวยาสำคัญ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์จากใบพลูสด (Piper betle L.) ร้อยละ 50 โดยน้ำหนักต่อ
ปริมาตร (w/v)
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการผิวหนังอักเสบ อาการอักเสบจากแมลง กัด ต่อย
ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ เมื่อทาติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้ผิวหนังเป็นสีดำ แต่เมื่อหยุดยาแล้วอาการจะ
หายไป
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(3) ยาบัวบก ยาครีม ยาครีม (รพ.)
ตัวยาสำคัญ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของใบบัวบกแห้ง [Centella asiatica (L.) Urb.] ร้อยละ 7
โดยน้ำหนัก (w/w)
ข้อบ่งใช้ ใช้สมานแผล
ขนาดและวิธีใช้ ทำความสะอาดแผลด้วยยาฆ่าเชื้อก่อนทายา
ใช้ทาบริเวณที่เป็นแผลวันละ 1 - 3 ครั้ง หรือ ตามแพทย์สั่ง
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้พืชในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) เช่น ยี่หร่า ผักชี
- ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติเป็นโรคมะเร็งผิวหนัง
- ห้ามใช้ในแผลเปิด
ข้อควรระวัง ควรหลีกเลี่ยงการใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
อาการไม่พึงประสงค์ มีรายงานว่าการทาสารสกัดใบบัวบกชนิดขี้ผึ้งหรือผง อาจทำให้เกิดผื่นแพ้สัมผัสได้
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(4) ยาเปลือกมังคุด ยาน้ำใส (รพ.)
ตัวยาสำคัญ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของเปลือกมังคุดแห้ง (Garcinia mangostana L.)
ร้อยละ 10 โดยน้ำหนักต่อปริมาตร (w/v)
ข้อบ่งใช้ ใช้ภายนอกสำหรับทาแผลสดและแผลเรื้อรัง
ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม แพทย์แผนโบราณใช้เปลือกมังคุดฝนกับน้ำปูนใสรักษาแผลเบาหวาน
203
(5) ยาพญายอ ยาครีม สารละลาย (สำหรับป้ายปาก) สารละลาย (สำหรับป้ายปาก) (รพ.) โลชัน โลชัน (รพ.)
ยาขี้ผึ้ง (รพ.) ทิงเจอร์ (รพ.)
รูปแบบและความแรง ยาครีม ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของพญายอร้อยละ 4 - 5 โดยน้ำหนัก (w/w)
สารละลาย (สำหรับป้ายปาก) ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของพญายอในกลีเซอรีน
ร้อยละ 2.5 - 4 โดยน้ำหนัก (w/w)
สารละลาย (สำหรับป้ายปาก) (รพ.) ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของพญายอใน
กลีเซอรีนร้อยละ 2.5 - 4 โดยน้ำหนัก (w/w)
โลชัน ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของพญายอร้อยละ 1.25 โดยน้ำหนัก (w/w)
โลชัน (รพ.) ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของพญายอร้อยละ 1.25 โดยน้ำหนัก (w/w)
ยาขี้ผึ้ง (รพ.) ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของจากพญายอ ร้อยละ 4 - 5 โดยน้ำหนัก (w/w)
ทิงเจอร์ (รพ.) ที่มีสารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของจากพญายอสด ร้อยละ 10 โดย
น้ำหนักต่อปริมาตร (w/v)
ตัวยาสำคัญ สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของใบพญายอแห้ง [Clinacanthus nutans (Burm. f.)
Lindau]
ข้อบ่งใช้ 1. ยาครีม บรรเทาอาการของ เริมและงูสวัด
2. สารละลาย (สำหรับป้ายปาก) รักษาแผลในปาก (aphthous ulcer)
แผลจากการฉายรังสีและเคมีบำบัด
3. โลชัน บรรเทาอาการ ผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน
4. ยาขี้ผึ้ง บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวมจากแมลงกัดต่อย
5. ทิงเจอร์พญายอ บรรเทาอาการของเริม และงูสวัด
ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
2.4 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
2.4.1ยาสำหรับรับประทาน
(1) ยาเถาวัลย์เปรียง ยาแคปซูล (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงจากเถาของเถาวัลย์เปรียง [Derris scandens (Roxb.) Benth.]
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติก เนื่องจากเถาวัลย์เปรียงออกฤทธิ์คล้าย
ยาแก้ปวดกลุ่มยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (Nonsteroidal Anti-
Inflammatory Drugs: NSAIDs)
- อาจทำให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร
204
อาการไม่พึงประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง ใจสั่น
ข้อมูลเพิ่มเติม -
2.4.2 ยาสำหรับใช้ภายนอก
(1) ยาพริก เจล ยาครีม (รพ.) ยาเจล (รพ.) ยาขี้ผึ้ง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ยาที่มีสารสกัดจากผลพริกแห้ง (Capsicum annuum L., Capsicum frutescens L.) โดย
ควบคุมความแรงของสาร capsaicin ในผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปร้อยละ 0.025 โดยน้ำหนัก
(w/w)
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ (musculoskeletal pain)
ขนาดและวิธีใช้ ทาบริเวณที่ปวด 3 - 4 ครั้ง ต่อวัน
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ capsaicin
- ห้ามสัมผัสบริเวณตา
- ระวังอย่าทาเจลบริเวณผิวที่บอบบางหรือบริเวณผิวหนังที่แตก เนื่องจากทำให้เกิด
อาการระคายเคือง
ข้อควรระวัง - การใช้ร่วมกับยารักษาโรคหัวใจ กลุ่ม angiotensin-converting enzyme inhibitor
(ACE inhibitor) อาจทำให้เกิดอาการไอเพิ่มขึ้น
- อาจเพิ่มการดูดซึมของยาโรคหอบหืด คือ theophylline ชนิดออกฤทธิ์เนิ่นนาน
- ควรระวังเมื่อใช้เจลพริกร่วมกับยากลุ่มต่อไปนี้
? Angiotensin converting enzyme inhibitors
? Anticoagulants
? Antiplatelet agents
? Barbiturates
? Low molecular weight heparins
? Theophylline
? Thrombolytic agents
อาการไม่พึงประสงค์ ผิวหนังแดง ปวด และแสบร้อน
ข้อมูลเพิ่มเติม สาร capsaicin เป็นสารที่ได้จากการสกัดผลพริกแห้ง
(2) ยาไพล ยาครีม
รูปแบบและความแรง ยาครีม ที่มีปริมาณน้ำมันระเหยง่าย ร้อยละ 14 โดยปริมาตรต่อน้ำหนัก (v/w)
ตัวยาสำคัญ น้ำมันหอมระเหยง่ายจากเหง้าไพล [Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr.]
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการบวม ฟกช้ำ เคล็ดยอก
ขนาดและวิธีใช้ ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2 - 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ - ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
- ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
205
(3) ยาน้ำมันไพล ยาน้ำมัน (รพ.)
ตัวยาสำคัญ สารสกัดน้ำมันไพล [Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr.]
ที่ได้จากการทอด (hotoil extract)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในตำรับ
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการบวม ฟกช้ำ เคล็ดยอก
ขนาดและวิธีใช้ ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2 - 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
ข้อควรระวัง -
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
2.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ
(1) ยากระเจี๊ยบแดง ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงกระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa L.)
ข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา
ขนาดและวิธีใช้ รับประทาน ครั้งละ 2 – 3 กรัม ชงน้ำร้อน 120 – 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร่อง
ข้อควรระวัง กระเจี๊ยบแดงอาจทำให้เกิดอาการท้องเสียได้ เนื่องจากมีฤทธิ์เป็นยาระบาย
อาการไม่พึงประสงค์ อาจมีอาการปวดมวนท้องได้
ข้อมูลเพิ่มเติม - ควรหลีกเลี่ยงการกินกระเจี๊ยบแดงติดต่อกันเป็นเวลานาน เนื่องจากผลการศึกษา
ในสัตว์ทดลองพบว่า ทำให้เกิดพิษต่อเซลล์ของอัณฑะและตัวอสุจิได้
- ควรหลีกเลี่ยงการกินกระเจี๊ยบแดงติดต่อกันเป็นเวลานานในสตรีมีครรภ์และสตรีให้นม
บุตร เนื่องจากผลการศึกษาในหนู (rat) พบว่าอาจทำให้ลูกหนูเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ช้าลง
- ส่วนที่ใช้ของกระเจี๊ยบแดง ได้จากส่วนกลีบเลี้ยง
(2) ยาหญ้าหนวดแมว ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงจากใบและส่วนยอดของหญ้าหนวดแมว [Orthosiphon aristatus (Blume) Miq.]
ข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา ขับนิ่วขนาดเล็ก
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 - 3 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร
ดื่มวันละ 2 - 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของหัวใจและ/หรือไตบกพร่อง
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องจำกัดปริมาณโพแทสเซียม เช่น ผู้ที่เป็นโรคหัวใจ
เนื่องจากยาหญ้าหนวดแมวมีปริมาณโพแทสเซียมสูง
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดน้ำตาลในเลือดชนิดรับประทาน (Oral hypoglycemic
agents) หรือร่วมกับการฉีดอินสุลิน เพราะอาจทำให้เกิดการเสริมฤทธิ์กันได้
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม -
206
2.6 ยาแก้ไข้ แก้ร้อนใน
(1) ยาบัวบก ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงจากส่วนเหนือดินของบัวบก [Centella asiatica (L.) Urb.]
ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน ช้ำใน
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 2 - 4 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 400 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้สมุนไพรวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae)
ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออกเนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์
- หลีกเลี่ยงการใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะอาจทำให้เกิดพิษต่อตับได้ในผู้ป่วยบางราย
- ควระวังการใช้ร่วมกับยาที่มีผลต่อตับ ยาขับปัสสาวะ และยาที่มีผลข้างเคียงทำให้
ง่วงนอน เพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้
- บัวบกอาจเพิ่มระดับน้ำตาลและคอเลสเตอรอลในเลือด และทำให้ประสิทธิผลของยา
ลดน้ำตาลและยาลดคอเลสเตอรอลลดลง
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่มีกระบวนการเมแทบอลิซึมผ่าน Cytochrom P450
(CYP) เนื่องจากบัวบกมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP2C9 และ CYP2C19
อาการไม่พึงประสงค์ ง่วงนอน คลื่นไส้ อาเจียน แสบท้อง มวนท้อง ท้องอืด และปัสสาวะบ่อย
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(2) ยามะระขี้นก ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงจากเนื้อผลแก่ที่ยังไม่สุกของมะระขี้นก (Momordica charantia L.)
ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน เจริญอาหาร
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 1 – 2 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็กหรือในหญิงให้นมบุตร เนื่องจากมีรายงานว่าทำให้ระดับน้ำตาลในเลือด
ลดลงอย่างมากจนเกิดอาการชักในเด็กได้
ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดน้ำตาลในเลือดชนิดรับประทาน (Oral Hypoglycemic
Agents) อื่น ๆ หรือร่วมกับการฉีดอินสุลิน เพราะอาจทำให้เกิดการเสริมฤทธิ์กันได้
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคตับ เพราะเคยมีรายงานว่าทำให้การเกิดตับอักเสบได้
207
อาการไม่พึงประสงค์ คลื่นไส้ วิงเวียน ชาปลายมือปลายเท้า hypoglycemic coma อาการชักในเด็ก
ท้องเดิน ท้องอืด ปวดศีรษะ และอาจเพิ่มระดับเอนไซม์ gamma-glutamyl
transferase และ alkaline phosphatase ในเลือดได้
ข้อมูลเพิ่มเติม -
(3) ยารางจืด ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงใบรางจืดโตเต็มที่ (Thunbergia laurifolia Lindl.)
ข้อบ่งใช้ ถอนพิษไข้ แก้ร้อนใน
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 2 - 3 กรัม ชงน้ำร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง
ก่อนอาหาร หรือเมื่อมีอาการ
ชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอื่นอย่างต่อเนื่องเพราะยารางจืด อาจเร่งการขับยา
เหล่านั้นออกจากร่างกาย ทำให้ประสิทธิผลของยาลดลง
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ทางการแพทย์แผนไทย จะใช้ใบหรือราก ตำและคั้นน้ำซาวข้าว รับประทานแก้พิษผิด
สำแดง
(4) ยาหญ้าปักกิ่ง ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงหญ้าปักกิ่ง [Murdannia loriformis (Hassk.) R.S. Rao & Kammathy ]
ข้อบ่งใช้ แก้ไข้ แก้ร้อนใน แก้น้ำเหลืองเสีย
ขนาดและวิธีใช้ ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 2 – 3 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 – 200 มิลลิลิตร
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ชนิดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 400 - 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออกเนื่องจากอาจบดบังอาการของ
ไข้เลือดออก
- หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ภูมิปัญญาเดิมใช้ทั้งต้น คั้นน้ำแล้วตั้งทิ้งไว้เพื่อให้ตกตะกอน แล้วนำส่วนใสไป
รับประทาน
208
2.7 ยาถอนพิษเบื่อเมา
(1) ยารางจืด ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงใบรางจืดโตเต็มที่ (Thunbergia laurifolia Lindl.)
ข้อบ่งใช้ ถอนพิษเบื่อเมา
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 – 3 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 -200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง
ก่อนอาหาร หรือเมื่อมีอาการ
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอื่นอย่างต่อเนื่องเพราะยารางจืด อาจเร่งการขับยา
เหล่านั้นออกจากร่างกาย ทำให้ประสิทธิผลของยาลดลง
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อมูลเพิ่มเติม ทางการแพทย์แผนไทย จะใช้ใบหรือราก ตำและคั้นน้ำซาวข้าว รับประทานแก้พิษผิด
สำแดง
2.8 ยาลดความอยากบุหรี่
(1) ยาหญ้าดอกขาว ยาชง (รพ.)
ตัวยาสำคัญ ผงหญ้าดอกขาว [Vernonia cinerea (L.) Less.]
ข้อบ่งใช้ ลดความอยากบุหรี่
ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 กรัม ชงน้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร หลังอาหาร
วันละ 3 - 4 ครั้ง
ข้อห้ามใช้ -
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจ และโรคไต เนื่องจากยาหญ้าดอกขาวมีโพแทสเซียมสูง
อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง
ข้อมูลเพิ่มเติม -

http://www.nlem.in.th/sites/default/files/goverment_gazette_2555.pdf

--------------------------------------
FfF