บันทึกเรื่องราว สืบสาวความจริง ทิ้งไว้ให้ลูกหลาน.
Save the stories. Investigate the truth. Give to the next generation.


26 พฤษภาคม 2552

<<< รายงาน ศปร. ( สารบัญตารางและภาพ ) >>>

สารบัญตารางและภาพ

ตารางที่ 1 องค์ประกอบของทุนสำรองทางการของไทย ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2540
ตารางที่ 2 ดัชนีราคาและมูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์
ตารางที่ 3 ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน
ภาพที่ 1 อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผู้บริโภค ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2533 ถึงกรกฎาคม 2539
ภาพที่ 2 ดุลบัญชีเดินสะพัดคิดเป็นสัดส่วนของรายได้ประชาชาติ ระหว่างปี 2533 ถึง 2539
ภาพที่ 3 ดุลบัญชีชำระเงินด้านทุน
ภาพที่ 4 สัดส่วนหนี้สินต่างประเทศต่อรายได้ประชาชาติ ระหว่างปี 2533 ถึง 2539
ภาพที่ 5 อัตราส่วนของสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ต่อเงินฝาก ระหว่างปี 2533 ถึง 2540
ภาพที่ 6 อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคาร ระหว่างปี 2533 ถึง 2539
ภาพที่ 7 อนุกรมเวลาของดัชนีค่าของเงินบาทที่แท้จริง ระหว่างเดือนมีนาคม 2537 ถึงเดือนพฤษภาคม 2540
ภาพที่ 8 เงินทุนสำรองระหว่างประเทศและหนี้สินระยะสั้น ระหว่างปี 2533-2539
ภาพที่ 9 อัตราการเติบโตของการส่งออกรายเดือน ระหว่างเดือน ก.ค. 2538 – มิ.ย. 2540
ภาพที่ 10 การไหลไปมาของเงินผ่าน ธปท. ในการปกป้องค่าเงินบาทโดยใช้ธุรกรรม swap
ภาพที่ 11 แผนภูมิตำแหน่งสำคัญๆ ในการรักษาค่าเงินบาทในธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 1 ตุลาคม 2539 ถึง 30 กันยายน 2540
ภาพที่ 12 เงินสำรองทางการและภาระผูกพันล่วงหน้าสิ้นเดือน รายเดือนระหว่าง ก.ค. 39 – มิ.ย. 40
ภาพที่ 13 เงินสำรองทางการและภาระผูกพันล่วงหน้า รายวันระหว่าง พ.ค.-มิ.ย. 40
ภาพที่ 14 โครงสร้างการบริหารจัดการด้านการเงินแยกตามพระราชบัญญัติ
ภาพที่ 15 โครงสร้างตามที่ ศปร. เสนอ



ตารางที่ 1
องค์ประกอบของทุนสำรองทางการของไทย
ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2540

ประเภทบัญชี/ทุนสำรอง

ปริมาณเงิน
(พันล้านเหรียญสหรัฐ)
ร้อยละของ
ทุนสำรองทางการ
1. บัญชีทุนสำรองเงินตรา 21.32 55.1
2. บัญชีทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน 0.69 1.8
3. บัญชีทั่วไป 16.64 43.0
4. เงินทุนสำรองทางการ (1) + (2) + (3) 38.65 100.0
5. ลด: ภาระผูกพันล่วงหน้า 12.05
6. เงินทุนสำรองทางการสุทธิ (4) – (5) 26.60

ที่มา: บันทึกเลขที่ 135/2540 จากหัวหน้าส่วนธุรกิจต่างประเทศถึงผู้อำนวยการฝ่ายการธนาคาร
ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2540




ตารางที่ 2
ดัชนีราคาและมูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์


2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540
ดัชนีราคา 612.86 711.36 893.432 1,682.09 1,360.09 1,280.81 831.57 372.69
มูลค่าซื้อขาย/วัน (ล้านบาท) 2,639.40 3,230.01 7,530.65 8,984.24 8,592.89 6,465.48 5,275.81 3,763.40
ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย



ตารางที่ 3
ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน

2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540
134.2 108.3 91.0 115.3 115.6 116.9 96.7 84.9
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย



* ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 12 เดือน
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย



ภาพที่ 2
ดุลบัญชีเดินสะพัดคิดเป็นสัดส่วนของรายได้ประชาชาติ ระหว่างปี 2533 ถึง 2539

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย


ภาพที่ 3
ดุลบัญชีชำระเงินด้านทุน

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย


ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย



ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย


* ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย


ภาพที่ 7
อนุกรมเวลาของดัชนีค่าของเงินบาทที่แท้จริง
ระหว่างเดือนมีนาคม 2537 ถึงเดือนพฤษภาคม 2540

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย



ภาพที่ 8
เงินทุนสำรองระหว่างประเทศและหนี้สินระยะสั้น ระหว่างปี 2533-2539

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย


* เปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันเมื่อปีก่อน
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย






ภาพที่ 11
แผนภูมิตำแหน่งสำคัญๆ ในการรักษาค่าเงินบาท
ในธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 1 ตุลาคม 2539 ถึง 30 กันยายน 2540




ภาพที่ 12
เงินสำรองทางการและภาระผูกพันล่วงหน้าสิ้นเดือน รายเดือนระหว่าง ก.ค. 39-มิ.ย. 40


ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย



ภาพที่ 13
เงินสำรองทางการและภาระผูกพันล่วงหน้า รายวันระหว่าง พ.ค. - มิ.ย. 40


ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย



ภาพที่ 14
โครงสร้างการบริหารจัดการด้านการเงินแยกตามพระราชบัญญัติ



ภาพที่ 15
โครงสร้างตามที่ ศปร. เสนอ


โครงสร้างการบริหารงานภายในธนาคารแห่งประเทศไทย ต้นปี ๒๕๔๐

















รายนาม รมว. คลัง ผู้ว่าการ และผู้บริหารที่เกี่ยวข้องของธนาคารแห่งประเทศไทย

วันเดือนปี

เหตุการณ์/มาตรการที่สำคัญทางการเงิน

รมว. คลัง

ผู้ว่าการ

รองผู้ว่าการ

ผู้ช่วยผู้ว่าการ

ฝ่าย

2537
ธ.ค. 20
Mexico Crisis (การประกาศลดค่าเงินเปโซ 15%) ธารินทร์ นิมมานเหมินท์
(29 ก.ย.35-18 ก.ค.38)
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย
(13 ก.ค.38-27 พ.ค.39)
วิจิตร สุพินิจ
(1 ต.ค.33-1 ก.ค.39)
เริงชัย มะระกานนท์ ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์

ปกรณ์ มาลากุลฯ

ศิริ การเจริญดี

วิชาการ
ธัญญา ศิริเวทิน
การธนาคาร
สุพจน์ กิตติสุวรรณ
การต่างประเทศ
อุดมทรัพย์ เตชะกำพุช
ผจก. กองทุนฟื้นฟูฯ
เกลียวทอง เหตระกูล
(1 พ.ย.37-3 ต.ค.38)
2539
พ.ย.-ธ.ค.
การโจมตีค่าเงินบาทครั้งแรก บดี จุณณานนท์
(28 พ.ค.39-27 ก.ย.39)
ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์
( 28 ก.ย.39-28 พ.ย.39)
อำนวย วีรวรรณ
(29 พ.ย.39-19 มิ.ย.40)
เริงชัย มะระกานนท์
(13 ก.ค.39-28 ก.ค.40)
ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์

เสนอตรงผู้ว่าการ

จรุง หนูขวัญ

ธัญญา ศิริเวทิน

ศิริ การเจริญดี

สุพจน์ กิตติสุวรรณ

วิชาการ
เกลียวทอง เหตระกูล
การธนาคาร
บัณฑิต นิจถาวร
การต่างประเทศ
อุดมทรัพย์ เตชะกำพุช
2540
ก.พ.
การโจมตีค่าเงินบาทครั้งที่ 2 อำนวย วีรวรรณ
(29 พ.ย.39-19 มิ.ย.40)
เริงชัย มะระกานนท์
(13 ก.ค.39-28 ก.ค.40)
ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์

เสนอตรงผู้ว่าการ

จรุง หนูขวัญ

ธัญญา ศิริเวทิน

ศิริ การเจริญดี

สุพจน์ กิตติสุวรรณ

วิชาการ
เกลียวทอง เหตระกูล
การธนาคาร
บัณฑิต นิจถาวร
การต่างประเทศ
อุดมทรัพย์ เตชะกำพุช
พ.ค. 13-15 การโจมตีค่าเงินบาทครั้งที่3 ซึ่งเป็นครั้งที่รุนแรงที่สุด อำนวย วีรวรรณ
(29 พ.ย.39-19 มิ.ย.40)
เริงชัย มะระกานนท์
(13 ก.ค.39-28 ก.ค.40)
ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์

เสนอตรงผู้ว่าการ

จรุง หนูขวัญ

ธัญญา ศิริเวทิน

ศิริ การเจริญดี

สุพจน์ กิตติสุวรรณ

วิชาการ
เกลียวทอง เหตระกูล
การธนาคาร
บัณฑิต นิจถาวร
การต่างประเทศ
อุดมทรัพย์ เตชะกำพุช
มิ.ย. 19 ดร.อำนวย วีรวรรณ ประกาศลาออกจากตำแหน่ง รมว. คลัง




มิ.ย. 27 ธปท. ประกาศระงับการดำเนินกิจการของ 16 สถาบันการเงิน ทนง พิทยะ
(21 มิ.ย.40-23 ต.ค.40)
เริงชัย มะระกานนท์
(13 ก.ค.39-28 ก.ค.40)
จรุง หนูขวัญ ศิริ การเจริญดี กำกับและพัฒนาสถาบันการเงิน
ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล
ตรวจสอบและวิเคราะห์ธนาคารพาณิชย์
สุรชัย พฤกษ์บำรุง
ตรวจสอบและวิเคราะห์ บง. บค.
สุวิช นิวาตวงศ์
ผจก. กองทุนฟื้นฟูฯ
สว่างจิตต์ จัยวัฒน์
(4 ต.ค.38-30 ก.ย.40)
ก.ค. 2 การประกาศเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยน
จากระบบตระกร้าเงินมาเป็นแบบลอยตัว
ทนง พิทยะ
(21 มิ.ย.40-23 ต.ค.40)
เริงชัย มะระกานนท์
(13 ก.ค.39-28 ก.ค.40)
ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์
(31 ก.ค.40-ปัจจุบัน)
ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์
(ถึง 30 ก.ค.40)
เสนอตรงผู้ว่าการ

จรุง หนูขวัญ

ธัญญา ศิริเวทิน

ศิริ การเจริญดี

สุพจน์ กิตติสุวรรณ

วิชาการ
เกลียวทอง เหตระกูล
การธนาคาร
บัณฑิต นิจถาวร
การต่างประเทศ
อุดมทรัพย์ เตชะกำพุช
ส.ค. 5 กระทรวงการคลัง และ ธปท. ประกาศมาตรการ เสริมสร้างความเชื่อมั่นในระบบสถาบันการเงิน พร้อมสั่งระงับการดำเนินกิจการของสถาบันการเงิน อีกจำนวน 48 แห่ง ทนง พิทยะ
(21 มิ.ย.40-23 ต.ค.40)
ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์
(31 ก.ค.40-ปัจจุบัน)
จรุง หนูขวัญ ศิริ การเจริญดี กำกับและพัฒนาสถาบันการเงิน
ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล

ตรวจสอบและวิเคราะห์ธนาคารพาณิชย์

สุรชัย พฤกษ์บำรุง
ตรวจสอบและวิเคราะห์ บง. บค.
สุวิช นิวาตวงศ์
ผจก. กองทุนฟื้นฟูฯ
สว่างจิตต์ จัยวัฒน์
(4 ต.ค.38-30 ก.ย.40)

ส.ค. 11 IMF ประกาศให้ rescue package จำนวน
$16 billion แก่ประเทศไทย





ต.ค. 23 ดร.ทนง พิทยะลาออกจากตำแหน่ง รมว. คลัง




พ.ย. 4 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ลาออกจากตำแหน่ง
นายกรัฐมนตรี
โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์
(24 ต.ค.40-13 พ.ย.40)




ธ.ค. 7 รมว. คลังแถลงรายชื่อสถาบันการเงินที่แผนฟื้นฟูผ่าน การพิจารณาของคณะกรรมการ ปรส. ธารินทร์ นิมมานเหมินท์
(14 พ.ย. 40-ปัจจุบัน)
ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์
(31 ก.ค.40-ปัจจุบัน)
จรุง หนูขวัญ ธัญญา ศิริเวทิน กำกับสถาบันการเงิน
ธาริสา วัฒนเกส
ตรวจสอบธนาคารพาณิชย์
สุรชัย พฤกษ์บำรุง
ตรวจสอบบริษัทเงินทุน
ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล
ผจก. กองทุนฟื้นฟูฯ
ทัศนา รัชตโพธิ์
(1 ต.ค.40-ปัจจุบัน)

ตั้งแต่ 1 ต.ค. 40 มีการเปลี่ยนแปลงชื่อฝ่ายจาก

1. ฝ่ายกำกับและพัฒนาสถาบันการเงิน เป็น ฝ่ายกำกับสถาบันการเงิน
2. ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ธนาคารพาณิชย์ เป็น ฝ่ายตรวจสอบธนาคารพาณิชย์
3. ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์บง. และ บค. เป็น ฝ่ายตรวจสอบบริษัทเงินทุน



แหล่งที่มาและทางใช้ไปของเงินกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

แหล่งที่มาของเงิน

ล้านบาท

วัน เดือน ปี

30 มิ.ย. 39

30 ก.ย. 39

31 ธ.ค. 39

31 มี.ค. 40

30 มิ.ย. 40

31 ส.ค. 40

เงินทดลองจาก ธปท.

25,788.56

25,788.56

35,788.56

31,788.56

45,788.56

45,788.56

เงินส่งสมทบจาก ธปท.

3,300.00

3,600.00

3,600.00

3,600.00

3,900.00

3,900.00

เงินนำส่งเข้ากองทุน

19,057.02

19,057.10

21,099.62

21,099.62

23,318.21

23,432.55

ภาระตามโครงการช่วยเหลือ

25.59

614.61

15.69

160.79

48,025.40

48,149.23

เงินกู้ยืมพันธบัตร

0.00

7,986.30

14,985.60

23,968.73

31,441.24

23,444.52

หลักทรัพย์ที่ขายโดยมีสัญญาจะซื้อคืน

0.00

0.00

0.00

83,348.00

232,500.00

445,265.00

เงินกู้ยืมจากตลาดการเงินระหว่างสถาบันการเงิน

0.00

9,300.00

6,000.00

24,150.00

5,236.90

44,434.48

เงินสำรองเพื่อแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน

0.00

0.00

0.00

0.00

18,320.73

18,320.73

รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายสะสม

18,006.70

18,452.05

19,844.06

21,191.36

2,985.79

413.25


66,177.87

84,798.62

101,333.53

209,307.06

411,516.83

653,148.35

ทางใช้ไปของเงิน

ล้านบาท

วัน เดือน ปี

30 มิ.ย. 39

30 ก.ย. 39

31 ธ.ค. 39

31 มี.ค. 40

30 มิ.ย. 40

31 ส.ค. 40

เงินช่วยเหลือซื้อหุ้นเพิ่มทุนในธนาคารพาณิชย์

15,266.34

34,176.34

34,176.34

34,176.34

27,490.79

27,490.79

เงินช่วยเหลือซื้อหุ้นเพิ่มทุนในสถาบันการเงินอื่น

1,040.04

1,024.79

1,024.79

1,128.32

1,128.32

1,128.32

เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน

700.00

13,234.00

16,061.00

121,494.92

272,616.65

363,902.51

สินทรัพย์ที่ซื้อโดยมีสัญญาจะขายคืน

0.00

0.00

0.00

0.00

0.00

3,137.00

เงินฝากธนาคารพาณิชย์

21,502.30

5,341.00

9,341.00

11,820.00

16,720.00

110,882.00

เงินให้กู้ยืมธนาคารพาณิชย์

4,425.00

3,337.11

3,241.53

3,135.97

4,001.11

3,910.81

ลูกหนี้รับโอนจากสถาบันการเงิน

4,474.34

4,464.62

4,459.45

4,459.38

51,615.92

90,941.24

ตั๋วเงินรับ

2,482.21

2,479.32

2,479.32

913.40

78.79

78.79

อสังหาริมทรัพย์รอการขาย

6,295.14

6,291.22

6,286.22

6,265.91

6,266.05

6,266.05

ลูกหนี้ค่าขายหุ้น

0.00

0.00

0.00

0.00

6,247.13

6,247.13

เงินลงทุนระยะสั้น

10,032.50

14,450.22

24,263.88

25,912.84

25,352.07

39,163.71


66,177.87

84,798.62

101,333.53

209,307.08

411,516.83

653,148.35




<<< รายงาน ศปร. ( สารบัญ และ คำนำ ) >>>
<<< รายงาน ศปร. ( สารบัญตารางและภาพ ) >>>
<<< รายงาน ศปร. ( สรุปความเห็น และ บทที่ 1 ) >>>

<<< รายงาน ศปร. ( บทที่ 2 ) >>>
<<< รายงาน ศปร. ( บทที่ 3-4 ) >>>

<<< รายงาน ศปร. ( บทที่ 5-7 ) >>>

<<< รายงาน ศปร. ( ภาคผนวก ) >>>